การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยเพื่อก้าวสู่ระบบ New Economy / จรรยา เงินมูล

By: จรรยา เงินมูลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ In: โลกพลังงาน ปีที่ 3 ฉบับที่ 8 (กรกฎาคม - กันยายน 2543) หน้า 30-31Summary: แม้ว่าประเทศไทยจะมีการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่แล้วก็ตาม แต่ไทยยังมีจุดอ่อนหลายประการที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะแผนแม่บทที่มีการกำหนดเป้าหมาย ค่อนข้างกว้างขวาง ประกอบกับการขาดแคลนกำลังคนที่มีคุณภาพไม่เพียงพอ (มีต่อ)Summary: จะเป็นพลังขับเคลื่อนสำคัญอันจะก่อให้เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ สำหรับแนวทางที่รัฐบาลใหม่ควรคำนึงถึงเพื่อพัฒนาประเทศ สู่การป็นเศรษฐกิจใหม่นั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเสนอแนะให้รัฐบาลวางเป้าหมายให้ชัดเจนว่าให้ (มีต่อ)Summary: ประชาชนได้มีส่วนรับรู้เป้าหมายที่ประเทศกำลังจะก้าวไปเป็นการกระตุ้นให้คนไทย ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศอย่างแข็งแรงอีกทั้งควรสนับสนุนผู้ประกอบการขนาดย่อม ให้ใช้เทคโนโลยีสารนิเทศอย่างกว้างขวาง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

แม้ว่าประเทศไทยจะมีการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่แล้วก็ตาม แต่ไทยยังมีจุดอ่อนหลายประการที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะแผนแม่บทที่มีการกำหนดเป้าหมาย ค่อนข้างกว้างขวาง ประกอบกับการขาดแคลนกำลังคนที่มีคุณภาพไม่เพียงพอ (มีต่อ)

จะเป็นพลังขับเคลื่อนสำคัญอันจะก่อให้เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ สำหรับแนวทางที่รัฐบาลใหม่ควรคำนึงถึงเพื่อพัฒนาประเทศ สู่การป็นเศรษฐกิจใหม่นั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเสนอแนะให้รัฐบาลวางเป้าหมายให้ชัดเจนว่าให้ (มีต่อ)

ประชาชนได้มีส่วนรับรู้เป้าหมายที่ประเทศกำลังจะก้าวไปเป็นการกระตุ้นให้คนไทย ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศอย่างแข็งแรงอีกทั้งควรสนับสนุนผู้ประกอบการขนาดย่อม ให้ใช้เทคโนโลยีสารนิเทศอย่างกว้างขวาง