ทิศทางส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมภายใต้รัฐบาลใหม่

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การส่งเสริมอุตสาหกรรม -- ไทย In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2544) หน้า 33 - 36Summary: ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคที่สร้างรายได้ให้กับประเทศค่อนข้างมาก ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจและประเทศดีขึ้น รัฐบาลใหม่ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมและภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงได้กำหนดแนวนโยบายในการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขึ้น ซึ่งนโยบายดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน (มีต่อ)Summary: อย่างไรก็ตาม ภาครัฐได้พยายามให้ภาคเอกชนและประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินาร เพื่อให้เกิดความรวดเร็วแม่นยำในการแก้ปัญหา มีนโยบายดังนี้ 1.เร่งสร้างรายได้ให้คนและภาคธุรกิจในประเทศ 2.ใช้ทักษะและสมองของคนในชาติปรับโครงสร้างหนี้ธุรกิจและอุตสาหกรรม 3.ปรับโครงสร้างการผลิตให้แข่งขันได้ในตลาดโลก 4.ชะลอการลงทุนจากต่างประเทศพร้อมกับกระตุ้นกำลังซื้อในประเทศ 5.พร้อมผลักดันและส่งเสริม SME อย่างจริงจัง (มีต่อ)Summary: 6.ตั้งอินเทอร์เน็ตระดับตำบล กระตุ้นให้เกิดอี-คอมเมิร์ซ 7.รัฐต้องแก้ปัญหาอย่างรวดเร็วและแม่นยำ 8.อุตสาหกรรมไทยต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโลก 9.องค์ประกอบที่ทำให้อุตสาหกรรมอยู่ในตลาดอย่างยั่งยืน 10.ค้นหาอุตสาหกรรมเป้าหมาย แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะมีภาวะการชะลอตัวลง แต่ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ยังคงต้องดำเนินการต่อไป ฉะนั้นนโยบายและทิศทางการดำเนินงานจึงต้องสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ (มีต่อ)Summary: ซึ่งต้องมีทั้งความรวดเร็วและความแม่นยำโดยภาครัฐจะเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหาต่างๆพร้อมทั้งให้การสนับสนุนและส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมไทยให้มีการเติบโตสามารถแข่งขันและดำรงอยู่ในเวทีการค้าโลกได้อย่างยั่งยืนต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคที่สร้างรายได้ให้กับประเทศค่อนข้างมาก ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจและประเทศดีขึ้น รัฐบาลใหม่ภายใต้การนำของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมและภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงได้กำหนดแนวนโยบายในการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขึ้น ซึ่งนโยบายดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน (มีต่อ)

อย่างไรก็ตาม ภาครัฐได้พยายามให้ภาคเอกชนและประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินาร เพื่อให้เกิดความรวดเร็วแม่นยำในการแก้ปัญหา มีนโยบายดังนี้ 1.เร่งสร้างรายได้ให้คนและภาคธุรกิจในประเทศ 2.ใช้ทักษะและสมองของคนในชาติปรับโครงสร้างหนี้ธุรกิจและอุตสาหกรรม 3.ปรับโครงสร้างการผลิตให้แข่งขันได้ในตลาดโลก 4.ชะลอการลงทุนจากต่างประเทศพร้อมกับกระตุ้นกำลังซื้อในประเทศ 5.พร้อมผลักดันและส่งเสริม SME อย่างจริงจัง (มีต่อ)

6.ตั้งอินเทอร์เน็ตระดับตำบล กระตุ้นให้เกิดอี-คอมเมิร์ซ 7.รัฐต้องแก้ปัญหาอย่างรวดเร็วและแม่นยำ 8.อุตสาหกรรมไทยต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโลก 9.องค์ประกอบที่ทำให้อุตสาหกรรมอยู่ในตลาดอย่างยั่งยืน 10.ค้นหาอุตสาหกรรมเป้าหมาย แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะมีภาวะการชะลอตัวลง แต่ธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ยังคงต้องดำเนินการต่อไป ฉะนั้นนโยบายและทิศทางการดำเนินงานจึงต้องสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ (มีต่อ)

ซึ่งต้องมีทั้งความรวดเร็วและความแม่นยำโดยภาครัฐจะเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหาต่างๆพร้อมทั้งให้การสนับสนุนและส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมไทยให้มีการเติบโตสามารถแข่งขันและดำรงอยู่ในเวทีการค้าโลกได้อย่างยั่งยืนต่อไป