ประกอบชิ้นส่วนบนไลน์การผลิตอย่างมีสุขภาพดี / อองเดร์ ลาราเน่

By: อองเดร์ ลาราเน่Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | รถยนต์ -- การผลิต In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2544) หน้า 87 - 88Summary: ในโรงงานประกอบชิ้นส่วนรถยนต์และชิ้นส่วนเมแคนิกส์ ผู้ปฏิบัติงานยังถือว่าเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการหยิบจับและประกอบชิ้นส่วนในปัจจุบัน บรรดาผู้ผลิตของฝรั่งเศสได้คิดค้นอุปกรณ์ที่ทรงประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยลดแรงงานของพวกเขา ผู้ผลิตที่ต้องการให้โรงงานของตนมีกระบวนการผลิตที่เป็นอัตโนมัติทั้งหมดนั้นได้ลดลงอย่างมาก เนื่องจากผู้ผลิตเหล่านี้ได้ค้นพบข้อดีของการใช้แรงงานจากคน (มีต่อ)Summary: ในอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมการประกอบรถยนต์ ซึ่งได้มีการพิสูจน์แล้วว่าคนงานมีประโยชน์ในการควบคุมเครื่องจักรและหยิบจับชิ้นส่วนมากกว่า ทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์สามารถปรับตัวทำงานได้ดีกว่าเครื่องจักรในทุกสถานการณ์ เช่นเดียวกับมีความเข้าใจจังหวะและขั้นตอนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงได้ดีกว่า การหวนกลับมาใช้แรงงานจาคนงานหญิงและช่วยในการประกอบชิ้นส่วนบนไลน์การผลิตได้เกิดขึ้นพร้อมกับการลงทุนศึกษาวิจัย (มีต่อ)Summary: ในด้านการออกแบบอุปกรณ์ที่ช่วยประหยัดแรงกลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ของฝรั่งเศสได้ลงทุนอย่างมหาศาลในการคิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยหยิบส่งเพื่อช่วยลดปริมาณงานที่มากเกินไป และช่วยจำกัดท่าทางการทำงานที่ซ้ำๆ กันของคนงาน ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดหลังหรือช่วยบรรเทาอาการเอ็นอักเสบ การลงทุนในอุปกรณ์เหล่านี้ได้นำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คนงานที่สูงอายุ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในโรงงานประกอบชิ้นส่วนรถยนต์และชิ้นส่วนเมแคนิกส์ ผู้ปฏิบัติงานยังถือว่าเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการหยิบจับและประกอบชิ้นส่วนในปัจจุบัน บรรดาผู้ผลิตของฝรั่งเศสได้คิดค้นอุปกรณ์ที่ทรงประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยลดแรงงานของพวกเขา ผู้ผลิตที่ต้องการให้โรงงานของตนมีกระบวนการผลิตที่เป็นอัตโนมัติทั้งหมดนั้นได้ลดลงอย่างมาก เนื่องจากผู้ผลิตเหล่านี้ได้ค้นพบข้อดีของการใช้แรงงานจากคน (มีต่อ)

ในอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมการประกอบรถยนต์ ซึ่งได้มีการพิสูจน์แล้วว่าคนงานมีประโยชน์ในการควบคุมเครื่องจักรและหยิบจับชิ้นส่วนมากกว่า ทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์สามารถปรับตัวทำงานได้ดีกว่าเครื่องจักรในทุกสถานการณ์ เช่นเดียวกับมีความเข้าใจจังหวะและขั้นตอนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงได้ดีกว่า การหวนกลับมาใช้แรงงานจาคนงานหญิงและช่วยในการประกอบชิ้นส่วนบนไลน์การผลิตได้เกิดขึ้นพร้อมกับการลงทุนศึกษาวิจัย (มีต่อ)

ในด้านการออกแบบอุปกรณ์ที่ช่วยประหยัดแรงกลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ของฝรั่งเศสได้ลงทุนอย่างมหาศาลในการคิดค้นอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยหยิบส่งเพื่อช่วยลดปริมาณงานที่มากเกินไป และช่วยจำกัดท่าทางการทำงานที่ซ้ำๆ กันของคนงาน ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการปวดหลังหรือช่วยบรรเทาอาการเอ็นอักเสบ การลงทุนในอุปกรณ์เหล่านี้ได้นำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คนงานที่สูงอายุ