แนวทางในการเลือก, ดูแลรักษา, การสอบเทียบและตรวจเช็คเครื่องวัดในภาคอุตสาหกรรม / พิเชษฐ์ พราหมเพ็ชร

By: พิเชษฐ์ พราหมเพ็ชรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เครื่องมือในการอุตสาหกรรม In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2544) หน้า 90 - 91Summary: การควบคุม ตรวจเช็คของเครื่องมือและอุปกรณ์ทดสอบมีบุคลากรอยู่ 2กลุ่ม ต้องมีความเข้าใจในเรื่องนี้เป็นอย่างดี กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่มีหน้าที่สอบเทียบเครื่องมือวัดและกลุ่มที่สองคือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดหรือผู้ที่ใช้เครื่องมือวัด ระบบการควบคุมเครื่องมือวัดไม่สามารถที่จะพัฒนาได้โดยใช้ประโยชน์จากกฎตามตัวและการสอบเทียบซ้ำ ระบบการจัดการขององค์กรต้องมีการยอมรับและมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ (มีต่อ)Summary: -ประเมินความต้องการเครื่องมือวัดในแต่ละขบวนการผลิต -กำหนดระดับเครื่องมือที่เหมาะสมกับความถูกต้องของการวัด -กำหนดชนิดของเครื่องมือวัด -เลือกระบบที่เป็นผลประโยชน์ที่แท้จริง การวัดเป็นมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ซึ่งทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการตัดสินใจเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้าหรือของผลที่จะตามมา ดังนั้นองค์กรจะต้องมีการรับรองระบบคุณภาพต่างต้องการความมั่นใจในการวัด (มีต่อ)Summary: ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้าหรือกระบวนการผลิตและสิ่งที่สามารถรู้ถึงความสัมพันธ์ซึ่งกันได้คือ ความสามารถในการสอบย้อน (Traceability) หลักเกณฑ์ที่ใช้ของมาตรฐานรวมถึงการจัดทำความสามารถในการสอบย้อนการวัดทางด้านฟิสิกส์และด้านวิศวกรรมนั้นค่อนข้างแตกต่างจากการใช้การวัดทางเคมีและการวัดทางชีวภาพ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การควบคุม ตรวจเช็คของเครื่องมือและอุปกรณ์ทดสอบมีบุคลากรอยู่ 2กลุ่ม ต้องมีความเข้าใจในเรื่องนี้เป็นอย่างดี กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่มีหน้าที่สอบเทียบเครื่องมือวัดและกลุ่มที่สองคือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดหรือผู้ที่ใช้เครื่องมือวัด ระบบการควบคุมเครื่องมือวัดไม่สามารถที่จะพัฒนาได้โดยใช้ประโยชน์จากกฎตามตัวและการสอบเทียบซ้ำ ระบบการจัดการขององค์กรต้องมีการยอมรับและมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ (มีต่อ)

-ประเมินความต้องการเครื่องมือวัดในแต่ละขบวนการผลิต -กำหนดระดับเครื่องมือที่เหมาะสมกับความถูกต้องของการวัด -กำหนดชนิดของเครื่องมือวัด -เลือกระบบที่เป็นผลประโยชน์ที่แท้จริง การวัดเป็นมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ซึ่งทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการตัดสินใจเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้าหรือของผลที่จะตามมา ดังนั้นองค์กรจะต้องมีการรับรองระบบคุณภาพต่างต้องการความมั่นใจในการวัด (มีต่อ)

ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้าหรือกระบวนการผลิตและสิ่งที่สามารถรู้ถึงความสัมพันธ์ซึ่งกันได้คือ ความสามารถในการสอบย้อน (Traceability) หลักเกณฑ์ที่ใช้ของมาตรฐานรวมถึงการจัดทำความสามารถในการสอบย้อนการวัดทางด้านฟิสิกส์และด้านวิศวกรรมนั้นค่อนข้างแตกต่างจากการใช้การวัดทางเคมีและการวัดทางชีวภาพ