รัฐเร่งปรับโครงสร้างการผลิตพัฒนาอุตสาหกรรมไทยยุคใหม่ให้ยั่งยืน

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การพัฒนาอุตสาหกรรม | ไทย -- อุตสาหกรรม In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2543) หน้า 53 - 57Summary: ในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจของประเทศอยู่ในภาวะวิกฤต ภาคอุตสาหกรรมนับว่ามีบทบาทอย่างยิ่ง ในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งถือได้ว่าอุตสาหกรรมเป็นหัวใจสำคัญ และความอยู่รอดของประเทศ การวางแผนให้อุตสาหกรรมไทย ตั้งอยู่บนฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน นับเป็นเรื่องที่ท้าทายวิสัยทัศน์ และความ (มีต่อ)Summary: สามารถของรัฐบาลอย่างแท้จริง กลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ให้ยั่งยืนนั้น จะต้อง 1.การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยจะต้องสร้างอุตสาหกรรมที่มีรากฐานอยู่บนการใช้เทคโนโลยี เพื่อความสามารถในกาาแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ของประชาชน 2.การเติบโต การพัฒนาอุตสาหกรรม (มีต่อ)Summary: จะต้องสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการใช้ทรัพยากรและพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีการป้องกัน ควบคุม แก้ไข ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมให้ได้ผล 3.จะต้องพัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐกับองค์การสาธารณะ เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานการเสนอแนะ (มีต่อ)Summary: นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม ให้ความช่วยเหลือ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดการ และเป็นศูนย์การรวบรวมข้อมูลการตลาดที่จำเป็นต่อธุรกิจ 4.สร้างอุตสาหกรรมให้มีภูมิคุ้มกัน และมีสัญญาณเตือนภัยที่เข้มแข็ง โครงการนำธุรกิจไปสู่การมีระบบข้อมูลเศรษฐกิจที่ถูกต้อง รวดเร็ว การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร (มีต่อ)Summary: ที่ทันสมัยก้าวไกลทั่วโลก ซึ่งผู้ประกอบการไทยต้องตื่นตัว ก้าวให้ทันธุรกิจในยุค IT จึงจะสามารถแข่งขันได้ 5.ให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อระยะยาว ดอกเบี้ยที่เหมาะสมแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม นอกจากนี้ในกิจการอุตสาหกรรมบางประเภท ที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐาน และศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย (มีต่อ)Summary: แต่มีความเสี่ยง รัฐจำเป็นต้อง สนับสนุน ด้านเงินทุน โครงจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุน (Venture Capital Fund) เข้าร่วมลงทุน กับภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมเหล่านั้น และยืนหยัดได้อย่างมั่นคง 6.จัดตั้งสถาบันอิสระ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเฉพาะสาขา และสถาบันพัฒนา SME (มีต่อ)Summary: เพื่อพัฒนาขีดความสามารถทั้งทางด้านการผลิต การบริหารจัดการ ด้านการตลาด และความรู้ความเข้าใจ ในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้กับต่างประเทศ 7.ส่งเสริมและสนับสนุนแบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 8.ชักจูงผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่แบบSummary: แบบการบริหารจัดการคุณภาพขององค์กร ISO 9000, ISO14000 และมอก. 18000 ซึ่งเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศทั่วโลกใช้กัน โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก (มีต่อ)Summary: 9.จัดตั้งเขตอุตสาหกรรมเพื่อกระจายอุตสาหกรรมไปยังภูมิภาค และพื้นที่เขตเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบให้สอดคล้องกับความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจของประเทศอยู่ในภาวะวิกฤต ภาคอุตสาหกรรมนับว่ามีบทบาทอย่างยิ่ง ในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งถือได้ว่าอุตสาหกรรมเป็นหัวใจสำคัญ และความอยู่รอดของประเทศ การวางแผนให้อุตสาหกรรมไทย ตั้งอยู่บนฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน นับเป็นเรื่องที่ท้าทายวิสัยทัศน์ และความ (มีต่อ)

สามารถของรัฐบาลอย่างแท้จริง กลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ให้ยั่งยืนนั้น จะต้อง 1.การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยจะต้องสร้างอุตสาหกรรมที่มีรากฐานอยู่บนการใช้เทคโนโลยี เพื่อความสามารถในกาาแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ของประชาชน 2.การเติบโต การพัฒนาอุตสาหกรรม (มีต่อ)

จะต้องสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการใช้ทรัพยากรและพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมีการป้องกัน ควบคุม แก้ไข ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมให้ได้ผล 3.จะต้องพัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐกับองค์การสาธารณะ เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานการเสนอแนะ (มีต่อ)

นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม ให้ความช่วยเหลือ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดการ และเป็นศูนย์การรวบรวมข้อมูลการตลาดที่จำเป็นต่อธุรกิจ 4.สร้างอุตสาหกรรมให้มีภูมิคุ้มกัน และมีสัญญาณเตือนภัยที่เข้มแข็ง โครงการนำธุรกิจไปสู่การมีระบบข้อมูลเศรษฐกิจที่ถูกต้อง รวดเร็ว การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร (มีต่อ)

ที่ทันสมัยก้าวไกลทั่วโลก ซึ่งผู้ประกอบการไทยต้องตื่นตัว ก้าวให้ทันธุรกิจในยุค IT จึงจะสามารถแข่งขันได้ 5.ให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อระยะยาว ดอกเบี้ยที่เหมาะสมแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม นอกจากนี้ในกิจการอุตสาหกรรมบางประเภท ที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐาน และศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย (มีต่อ)

แต่มีความเสี่ยง รัฐจำเป็นต้อง สนับสนุน ด้านเงินทุน โครงจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุน (Venture Capital Fund) เข้าร่วมลงทุน กับภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมเหล่านั้น และยืนหยัดได้อย่างมั่นคง 6.จัดตั้งสถาบันอิสระ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเฉพาะสาขา และสถาบันพัฒนา SME (มีต่อ)

เพื่อพัฒนาขีดความสามารถทั้งทางด้านการผลิต การบริหารจัดการ ด้านการตลาด และความรู้ความเข้าใจ ในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถแข่งขันได้กับต่างประเทศ 7.ส่งเสริมและสนับสนุนแบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 8.ชักจูงผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่แบบ

แบบการบริหารจัดการคุณภาพขององค์กร ISO 9000, ISO14000 และมอก. 18000 ซึ่งเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศทั่วโลกใช้กัน โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก (มีต่อ)

9.จัดตั้งเขตอุตสาหกรรมเพื่อกระจายอุตสาหกรรมไปยังภูมิภาค และพื้นที่เขตเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบให้สอดคล้องกับความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์