แนวทางพัฒนาบุคคลากรของการซ่อมบำรุงยุคใหม่ / ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช

By: ไกรวิทย์ เศรษฐวนิชCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เครื่องจักร -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 27 ฉบับที่ 152 (สิงหาคม-กันยายน 2543) หน้า 154 - 158Summary: การบำรุงรักษาของฝ่ายซ่อมบำรุงภายในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วๆไปนั้น ถือว่าเป็นงานที่ต้องให้การสนับสนุนแก่ฝ่ายผลิตหรือฝ่ายปฎิบัติการ เพื่อดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และให้บริการที่สร้างความน่าเชื่อถือได้ ในด้านความพร้อมของกระบวนการผลิตตลอดเวลา หน้าที่หลักของฝ่ายซ่อมบำรุงนั้นจะต้องพยายาม (มีต่อ)Summary: ไม่ให้เกิดความเสียหายหรือการสูญเสียเวลาอันเนื่องมาจากการทำงานของเครื่องจักรหรือให้เกิดน้อยที่สุด การที่จะยกระดับทักษะในการทำงานของฝ่ายซ่อมบำรุงอย่างเป็นรูปธรรมนั้น จะต้องมีบรรยากาศของความคิดสร้างสรรค์และให้โอกาสในการส่งเสริมเทคโนโลยีซึ่งแสดงถึงแนวทางพัฒนาบุคลากรของการซ่อมบำรุงในยุคใหม่ (มีต่อ)Summary: ปัจจัยที่จะนำไปสู่การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมให้ประสบความสำเร็จนั้นคือ การฝึกอบรมและให้ความรู้ตามความสำคัญของลำดับการบริหารงานภายในองค์การ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางและเป้าหมายในอนาคต งานของฝ่ายซ่อมบำรุงในปัจจุบันไม่ได้แยกออกเป็นกิจกกรมอิสระภายในองค์การแต่จะต้องผ่านระบบเครือข่าย (มีต่อ)Summary: ที่เชื่อมโยงกันภายใน ด้วยแนวความคิดใหม่และเทคโนโลยีใหม่ๆ ดังนั้นการฝึกอบรมและการให้ความรู้แก่ทรัพยากรบุคคลจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องระบุไว้ในนโยบาย ซึ่งในอนาคตในการปฎิบัติงานของฝ่ายซ่อมบำรุงจะต้องอาศัยเทคโนโลยี (มีต่อ)Summary: การบริหารงานแบบมืออาชีพ ที่ไม่เพียงแต่อาศัยความมีระเบียบวินัยเท่านั้น แต่จะต้องนำเอาความสามารถของบุคลากรเหล่านั้นไปสู่การประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การบำรุงรักษาของฝ่ายซ่อมบำรุงภายในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วๆไปนั้น ถือว่าเป็นงานที่ต้องให้การสนับสนุนแก่ฝ่ายผลิตหรือฝ่ายปฎิบัติการ เพื่อดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และให้บริการที่สร้างความน่าเชื่อถือได้ ในด้านความพร้อมของกระบวนการผลิตตลอดเวลา หน้าที่หลักของฝ่ายซ่อมบำรุงนั้นจะต้องพยายาม (มีต่อ)

ไม่ให้เกิดความเสียหายหรือการสูญเสียเวลาอันเนื่องมาจากการทำงานของเครื่องจักรหรือให้เกิดน้อยที่สุด การที่จะยกระดับทักษะในการทำงานของฝ่ายซ่อมบำรุงอย่างเป็นรูปธรรมนั้น จะต้องมีบรรยากาศของความคิดสร้างสรรค์และให้โอกาสในการส่งเสริมเทคโนโลยีซึ่งแสดงถึงแนวทางพัฒนาบุคลากรของการซ่อมบำรุงในยุคใหม่ (มีต่อ)

ปัจจัยที่จะนำไปสู่การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมให้ประสบความสำเร็จนั้นคือ การฝึกอบรมและให้ความรู้ตามความสำคัญของลำดับการบริหารงานภายในองค์การ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางและเป้าหมายในอนาคต งานของฝ่ายซ่อมบำรุงในปัจจุบันไม่ได้แยกออกเป็นกิจกกรมอิสระภายในองค์การแต่จะต้องผ่านระบบเครือข่าย (มีต่อ)

ที่เชื่อมโยงกันภายใน ด้วยแนวความคิดใหม่และเทคโนโลยีใหม่ๆ ดังนั้นการฝึกอบรมและการให้ความรู้แก่ทรัพยากรบุคคลจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องระบุไว้ในนโยบาย ซึ่งในอนาคตในการปฎิบัติงานของฝ่ายซ่อมบำรุงจะต้องอาศัยเทคโนโลยี (มีต่อ)

การบริหารงานแบบมืออาชีพ ที่ไม่เพียงแต่อาศัยความมีระเบียบวินัยเท่านั้น แต่จะต้องนำเอาความสามารถของบุคลากรเหล่านั้นไปสู่การประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ