การสื่อสารเครือข่ายความเร็วสูงด้วยอุปกรณ์นำแสง / ปรีชา ยุพาพิน

By: ปรีชา ยุพาพินCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การสื่อสาร In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 27 ฉบับที่ 152 (สิงหาคม-กันยายน 2543) หน้า 97 - 100Summary: การผลิตใยแก้วนำแสงคือ ให้ความร้อนที่ปลายแท่งพรีฟอร์มแล้วดึงปลายด้านเรียบด้วยความเร็วในการดึงอยู่ในช่วง 1เมตรต่อวินาที ปกป้องโดยหุ้มด้วยสารพอลิเมอร์แล้วทำการม้วนเก็บใยแก้วนำแสงตามลำดับ (มีต่อ)Summary: ในด้านการสื่อสารนั้นเส้นใยแก้วนำแสงมาตรฐานชนิดสเตปอินเดก ซึ่งแกนทำจากเจอร์มาเนียม ผสมซิลิกาและแคลดทำจากซิลิกาบริสุทธิ์ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดเจอมาโนซิลิเกตนี้แสดงช่วงการดูดกลืนต่ำๆ ได้ 2ช่วงคือ ที่1.3 และ1.55 ไมครอน เมื่อได้รับแสง UV ที่มีความยาวคลื่นระหว่าง240 และ260 นาโนเมตร จะเกิดการ (มีต่อ)Summary: เปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหแบบถาวร ใช้ความไวต่อแสงเป็นตัวกำหนดการสร้างเส้นใยแก้วนำแสง เช่น การเขียนเกรตติงลงบนเส้นใยแก้วนำแสงโดยใช้การมอดูเลตที่ลำแสง UV การบรรจุไฮโดรเจนลงในเส้นใยแก้วนำแสงที่ความดันสูงประมาณ 200บรรยากาศอุณหภูมิห้อง ทำให้เกิดกระบวนการแตกตัวขึ้นทำให้เส้นใยแก้วนำแสงมีความไวต่อแสง (มีต่อ)Summary: เพิ่มขึ้น เป็นการลดความเข้มของแสง UV และเพิ่มการเปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหในใยแก้วนำแสง ไฮโดรเจนจะมีผลต่อการสร้างรูปแบบที่ไม่สมบูรณ์ขึ้นในแก้วเจอมาเนียมนั่นคือ การเปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหที่ได้มากกว่า 10-2 ซึ่งมากกว่าผลต่างดัชนีหักเหของแกนและแคลดในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด เทคนิคการบรรจุไฮโดรเจนนี้ (มีต่อ)Summary: ทำให้ใยแก้วนำแสงเจอร์มาเนียมมีความไวต่อแสงและดัชนีหักเหเพิ่มขึ้นในลักษณะที่ไม่สามารถควบคุมได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การผลิตใยแก้วนำแสงคือ ให้ความร้อนที่ปลายแท่งพรีฟอร์มแล้วดึงปลายด้านเรียบด้วยความเร็วในการดึงอยู่ในช่วง 1เมตรต่อวินาที ปกป้องโดยหุ้มด้วยสารพอลิเมอร์แล้วทำการม้วนเก็บใยแก้วนำแสงตามลำดับ (มีต่อ)

ในด้านการสื่อสารนั้นเส้นใยแก้วนำแสงมาตรฐานชนิดสเตปอินเดก ซึ่งแกนทำจากเจอร์มาเนียม ผสมซิลิกาและแคลดทำจากซิลิกาบริสุทธิ์ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดเจอมาโนซิลิเกตนี้แสดงช่วงการดูดกลืนต่ำๆ ได้ 2ช่วงคือ ที่1.3 และ1.55 ไมครอน เมื่อได้รับแสง UV ที่มีความยาวคลื่นระหว่าง240 และ260 นาโนเมตร จะเกิดการ (มีต่อ)

เปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหแบบถาวร ใช้ความไวต่อแสงเป็นตัวกำหนดการสร้างเส้นใยแก้วนำแสง เช่น การเขียนเกรตติงลงบนเส้นใยแก้วนำแสงโดยใช้การมอดูเลตที่ลำแสง UV การบรรจุไฮโดรเจนลงในเส้นใยแก้วนำแสงที่ความดันสูงประมาณ 200บรรยากาศอุณหภูมิห้อง ทำให้เกิดกระบวนการแตกตัวขึ้นทำให้เส้นใยแก้วนำแสงมีความไวต่อแสง (มีต่อ)

เพิ่มขึ้น เป็นการลดความเข้มของแสง UV และเพิ่มการเปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหในใยแก้วนำแสง ไฮโดรเจนจะมีผลต่อการสร้างรูปแบบที่ไม่สมบูรณ์ขึ้นในแก้วเจอมาเนียมนั่นคือ การเปลี่ยนแปลงดัชนีหักเหที่ได้มากกว่า 10-2 ซึ่งมากกว่าผลต่างดัชนีหักเหของแกนและแคลดในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด เทคนิคการบรรจุไฮโดรเจนนี้ (มีต่อ)

ทำให้ใยแก้วนำแสงเจอร์มาเนียมมีความไวต่อแสงและดัชนีหักเหเพิ่มขึ้นในลักษณะที่ไม่สามารถควบคุมได้