TY - SER AU - วันทนา ศรีรัตนศักดิ์. AU - จินตนา ทยาธรรม. TI - ระดับความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงของเพลี้ยกระโดดหลังขาว KW - เพลี้ยกระโดดหลังขาว KW - ศัตรูพืช KW - SCI-TECH N2 - เก็บรวบรวม ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว จากนาข้าว ในจังหวัด ภาคกลาง เหนือ และ ตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 11 จังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2540 มาเลี้ยงขยายปริมาณ ในห้องเลี้ยงแมลง ควบคุมอุณหภูมิที่ 25+-1 องศาเซลเซียส และได้รับ แสงจาก ไฟนีออน 12 ชั่วโมงต่อวัน (มีต่อ); จนถึง ชั่วอายุขัยที่ (F4) นำตัวเต็มวัย เพศเมีย อายุ 2-3 วัน มาทดสอบ ความต้านทาน ต่อสาร ฆ่าแมลง 9 ชนิด เปรียบเทียบค่า LD50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด ระหว่าง ประชากร เพลี้ยกระโดด หลังขาว ทั้ง 11 จังหวัด พบว่า ไม่มี ประชากรใด (มีต่อ); แสดงคุณสมบัติ เป็นประชากร พันธุ์อ่อนแอ เพื่อใช้ เปรียบเทียบ ระดับความ ต้านทานได้ และเมื่อ เปรียบเทียบ ค่าสัดส่วน ความต้านทาน ระหว่างค่า LC50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด กับความ เข้มข้น ของสารฆ่าแมลง ที่แนะนำ พบว่า ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว ที่ทดสอบ มีการปรับตัว (มีต่อ); ให้สร้าง ความต้านทาน ต่อสาร carbosulfan fenitrothion และ malathion มีค่า RR ระหว่าง 18.5-270.0 เท่า ปรับตัวให้ทนทาน ต่อสาร czrbofuran etofenprox และ chlorpyrifos/fenobucarb มีค่า RR ระหว่าง 0.8-10.5 เท่า และปรับตัวทั้ง ต้านทาน และทนทาน (มีต่อ); ต่อสาร isoprocarb, fenobucarb และ monocrotophos มีค่า RR ระหว่าง 4.7-91.0 เท่า โดยประชากร จากจังหวัด อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ พะเยา และชัยนาท มีแนวโน้ม พัฒนาเป็น เพลี้ยกระโดดหลังขาว พันธุ์ ต้านทาน สำหรับประชากร จากปทุมธานี สุพรรณบุรี เชียงใหม่ เชียงราย ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ น่าน และ นครราชสีมา เป็นประชากร ที่อยู่ระหว่าง การพัฒนา เป็นประชากร ที่ทนทาน และต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลง ER -