TY - SER AU - ไพศาล รัตนเสถียร. AU - จีรนุช เอกอำนวย. TI - การศึกษาปริมาณ สารเคมมีที่พบบน พุทรา จากการใช้อัตราการพ่นต่างกัน KW - พุทรา KW - การพ่นสารเคมี KW - ศัตรูพืช KW - SCI-TECH N2 - การศึกษา ปริมาณของสารเคมีที่ตก บนต้นพุทรา โดยการวางแผนกาารทดลองแบบ RCB มี 10 ซ้ำ 3 กรรมวิธี ใช้ต้นพุทราจำนวน 3ต้น ต่อกรรมวิธี คือ การพ่นสี benzo scarlet 10% จำนวน 60 ม.ล. ผสมน้ำอัตรา 8,10 และ 14 ลิตร ต่อพุทรา 3ต้น หรือใช้อัตราการพ่น 250,350 และ 450 ลิตรต่อไป ด้วยเครื่องพ่น แบบใช้แรงดันน้ำ ผลการวิเคาระห์ (มีต่อ); ปริมาณสีจากต้นพุทรา พบว่า การใช้น้ำผสมจำนวน 8ลิตร ตรวจพบปริมาณ สีมากที่สุด ประมาณ 8.360x10 ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. และตรวจพบในปริมาณ 2.175x10 ยกลังลบ 4 และ 2.176x10 ยกกำลังลบ 4 ไมโครกรัมต่อ ตร.ซม. จากการพ่นที่ใช้น้ำในอัตรา 10และ14 ลิตร (มีต่อ); ตามลำดับซึ่งสรุปได้ว่า การใช้อัตราน้ำ ผสมน้อยช่วยให้สี benzo scarlet หรืออีก นัยหนึ่งคือ ปริมาณสารเคมี ตกค้างอยู่บน ต้นพุทรามากขึ้น ทำการทดสอบเพิ่มเติม โดยการพ่นน้ำสี benzo scaret ใช้ความเข้มข้นเดียวคือ 0.02% แต่ใช้อัตราการพ่น 3อัตรา (มีต่อ); พบว่าปริมาณสี ที่ตรวจวัดได้จากใบพุทรา มีปริมาณสี ใกล้เคียงกัน ทุกอัตราการพ่น และไม่มีความแตกต่าง กันทางสถิติ ปริมาณสีที่ตรวจพบ คือ1.146x10 ยกกำลังลบ 4 1.232x10ยกกำลังลบ4 และ1.140x10ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. ตามลำดับ (มีต่อ); สรุปได้ว่า การพ่นสารเคมี ที่ระดับความเข้มข้น เดียวกัน แม้จะใช้อัตราการพ่น แตกต่างกันก็ตาม จะมีการกระจาย ของสีหรือสารเคมี บนต้นพืชในระดับใกล้เคียงกัน ER -