เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล.

พืชตัดต่อสารพันธุกรรม มหันตภัยซ่อนเร้น / เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล

พืชตัดต่อสารพันธุกรรม (Transgenic Plant) เป็นพืชที่เกิดขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี " พันธุวิศวกรรม" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีชีวภาพ ในการปรับปรุงพันธุ์ โดยการเคลื่อนย้ายยีนหรือพันธุกรรมที่มีคุณสมบัติตามต้องการ อาจเป็นพืชต่างชนิดต่างพันธุ์ไปจนถึง (มีต่อ) สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เข้าไปไว้พืชชนิดหนึ่งด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างพืชแบบใหม่ หรือแปลกใหม่ ที่มีคุณสมบัติตามต้องการขึ้นมา ปัจจุบันประเทศที่มีการศึกษาพัฒนาและปลูกพืชตัดต่อสารรพันธุกรรมเพื่อการค้ามากที่สุด คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย แคนาดา และเบลเยี่ยม โดยหลังจาก(มีต่อ) มีการนำพืชตัดต่อสารพันธุกรรมออกไปทดสอบในสภาพธรรมชาติ ครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอมริกา และฝรั่งเศส เมื่อปี 2529 ขณะนี้มีพืชตัดต่อสารพันธุกรรมที่ทำการทดสอบในสภาพธรรมมชาติแล้ว 56 ชนิด และมีส่วนหนึ่งได้รับอนุญาตให้ผลิตเพื่อการค้า สำหรับประเทศไทย(มีต่อ) มีการประกาศใช้พืชตัดต่อ สารพันธุกรรม 40 ชนิด เป็นสิ่งต้องห้ามตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องกำหนดพืชและศัตรูพืช หรือพาหะจากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้น และเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ 2507(ฉบับที่ 2) พ.ศ 2537(มีต่อ) สาเหตุที่มีการประกาศให้พืชตัดต่อสารพันธุกรรม 40 ชนิดเป็นสิ่งต้องห้ามเนื่องจาก ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพนี้ ก่อให้เกิดความกังวลในหมู่สาธาณะและนักวิจัยในเรื่องความปลอดภัยในการควบคุมภยันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้นเช่น พืชที่ได้รับการ(มีต่อ) ตัดต่อสารพันธุกรรม โดยมีจุลินทรย์เป็นสาเหตุของโรคพืชเข้าเกี่ยวข้อง หรือการตัดต่อสารพันธุกรรมจากจุลินทรย์ ที่มีควาามสามารถในการผลิตสารทำลายแมลง


พืช--การปรับปรุงพันธุ์.
SCI-TECH.