การพัฒนารูปแบบการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงโดยใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณีร่วมกับการสนับสนุนทางสังคม / พรศิริ เสนธิริ

By: พรศิริ เสนธิริContributor(s): สุดใจ ศรีสงค์ | ศิริรัตน์ อินทรเกษม | รัศมีแข พรหมประกาย | ขวัญฤดี โกพลรัตน์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): หญิงตั้งครรภ์ -- โรคความดันโลหิตสูงGenre/Form: การพยาบาล Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน 2561) หน้า 234-245Summary: ปัจจุบันยังไม่สามารถสรุปสาเหตุของการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ได้อย่างแน่ชัด ทำให้การป้องกันการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ยังไม่สามารถทำได้อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดขึ้นแล้วยังสามารถดูแลป้องกันเพื่อควบคุมความรุนแรงของโรคได้หากได้รับการตรวจวินิจฉัยและการดูแลอย่างถูกต้องตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ดังนั้น การคัดกรองเพื่อการวินิจฉัยและดูแลที่ถูกต้องรวดเร็ว การส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์เอาใจใส่ดูแลตนเองได้ โดยการปรับปรุงกิจวัตรประจำวันหรือสิ่งแวดล้อมตนเองให้สอดคล้องกับสภาวะเจ็บป่วยและแผนการรักษาจึงมีความสำคัญยิ่ง เชื่อว่าถ้าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงสามารถปฏิบัติตัวเพื่อการดูแลตนเองตั้งแต่ระยะแรกของโรคอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว จะสามารถควบคุมความรุนแรงของโรค ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อัตราการเสียชีวิตทั้งต่อมารดาและทารกลงได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันยังไม่สามารถสรุปสาเหตุของการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ได้อย่างแน่ชัด ทำให้การป้องกันการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ยังไม่สามารถทำได้อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดขึ้นแล้วยังสามารถดูแลป้องกันเพื่อควบคุมความรุนแรงของโรคได้หากได้รับการตรวจวินิจฉัยและการดูแลอย่างถูกต้องตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ดังนั้น การคัดกรองเพื่อการวินิจฉัยและดูแลที่ถูกต้องรวดเร็ว การส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์เอาใจใส่ดูแลตนเองได้ โดยการปรับปรุงกิจวัตรประจำวันหรือสิ่งแวดล้อมตนเองให้สอดคล้องกับสภาวะเจ็บป่วยและแผนการรักษาจึงมีความสำคัญยิ่ง เชื่อว่าถ้าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงสามารถปฏิบัติตัวเพื่อการดูแลตนเองตั้งแต่ระยะแรกของโรคอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว จะสามารถควบคุมความรุนแรงของโรค ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ อัตราการเสียชีวิตทั้งต่อมารดาและทารกลงได้