ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส และความเครียดในการเลี้ยงดูบุตร ของมารดาวัยรุ่นครั้งแรก / วรรณพร คำพิลา

By: วรรณพร คำพิลาContributor(s): บังอร ศุภวิทิตพัฒนา | นงลักษณ์ เฉลิมสุขCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ความเครียด -- การเลี้ยงดูบุตรGenre/Form: คู่สมรส Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2562) หน้า 98-107Summary: สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส (marital relationship) เป็นความรู้สึกรักใคร่และกลมเกลียวระหว่างสามีภรรยามีความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจกัน ความพึงพอใจซึ่งกันและกัน การปรับตัวต่อชีวิตสมรสที่มีคุณภาพ โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ความเห็นพ้องกันของคู่สมรส (dayadic consensus) ควํามพึงพอใจระหว่างคู่สมรส (dyadic satisfaction) ความกลมเกลียวของคู่สมรส (dyadic cohesion) และกํารแสดงความรักของคู่สมรส (affectional experssion) เมื่อสามีภรรยามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน จะมีความรัก ความเข้าใจที่ดีต่อกัน19 ซึ่งการตั้งครรภ์ของมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากความไม่ตั้งใจในขณะที่ยังไม่พร้อม จึงอาจมีผลต่อสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส (marital relationship) เป็นความรู้สึกรักใคร่และกลมเกลียวระหว่างสามีภรรยามีความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจกัน ความพึงพอใจซึ่งกันและกัน การปรับตัวต่อชีวิตสมรสที่มีคุณภาพ โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ความเห็นพ้องกันของคู่สมรส (dayadic consensus) ควํามพึงพอใจระหว่างคู่สมรส (dyadic satisfaction) ความกลมเกลียวของคู่สมรส (dyadic cohesion) และกํารแสดงความรักของคู่สมรส (affectional experssion) เมื่อสามีภรรยามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน จะมีความรัก ความเข้าใจที่ดีต่อกัน19 ซึ่งการตั้งครรภ์ของมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากความไม่ตั้งใจในขณะที่ยังไม่พร้อม จึงอาจมีผลต่อสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสได้