รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน / นฤมล พันลุตัน

By: นฤมล พันลุตันContributor(s): สมเกียรติตุ่นแก้ว | ประเวศ เวชชะ | พูนชัย ยาวิราชCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้บริหารสถานศึกษา -- ประชาคมอาเซียนGenre/Form: สมรรถนะผู้บริหาร Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สังคมศาสตร์วิชาการ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (๋กันยายน – ธันวาคม 2562) หน้า 333-342Summary: ระบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละองค์ประกอบมีความคิดเห็นว่าทุกองค์ประกอบมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางรูปแบบ วิธีการพัฒนาขาดการประเมินความต้องการจ าเป็น ขาดรูปแบบวิธีการพัฒนาที่เหมาะสมขาดระบบการประเมินผลการพัฒนาอย่างต่อเนื่องขาดเจตคติที่ดีต่อการพัฒนาเทคนิควิธีการยังไม่กระตุ้น และดึงดูดการพัฒนาสอดคล้องกับแนวทางแก้ปัญหาและอภิวัติการเรียนการสอนทักษะกระบวนการส าหรับการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา คือ การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้แก่ผู้เรียนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในการสนับสนุนส่งเสริมครูในการปฏิบัติงานดังนั้นสมรรถนะจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารผลสัมฤทธิ์โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อดึงศักยภาพและความสามารถที่ซ่อนเร้นของบุคลากรมาใช้ในการสร้างผลสัมฤทธิ์ของงานและเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงคุณภาพในการบริหารสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงคุ้มค่ากับปัจจัยการบริหารที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ระบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละองค์ประกอบมีความคิดเห็นว่าทุกองค์ประกอบมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางรูปแบบ วิธีการพัฒนาขาดการประเมินความต้องการจ าเป็น ขาดรูปแบบวิธีการพัฒนาที่เหมาะสมขาดระบบการประเมินผลการพัฒนาอย่างต่อเนื่องขาดเจตคติที่ดีต่อการพัฒนาเทคนิควิธีการยังไม่กระตุ้น และดึงดูดการพัฒนาสอดคล้องกับแนวทางแก้ปัญหาและอภิวัติการเรียนการสอนทักษะกระบวนการส าหรับการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา คือ การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้แก่ผู้เรียนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในการสนับสนุนส่งเสริมครูในการปฏิบัติงานดังนั้นสมรรถนะจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารผลสัมฤทธิ์โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อดึงศักยภาพและความสามารถที่ซ่อนเร้นของบุคลากรมาใช้ในการสร้างผลสัมฤทธิ์ของงานและเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงคุณภาพในการบริหารสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงคุ้มค่ากับปัจจัยการบริหารที่ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน