เศรษฐกิจไทยฟื้นยั่งยืนยุคสหัสวรรษต้องพึ่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี / สุภัทรา ภิญโญกิตติกุล

By: สุภัทรา ภิญโญกิตติกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การพัฒนาเศรษฐกิจ | SCI-TECH | ไทย -- นโยบายเศรษฐกิจ In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 12 (ธันวาคม 2542) หน้า 95-98Summary: การฟื้นฟูประเทศไม่ใช่แค่การทำให้ระบบเศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดังเช่นในอดีต เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลกจะเข้ามีบทบาทสำคัญต่อประเทศที่กำลังพัฒนาการขยายตัวอย่างรวดเร็วจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารนิเทศ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีการคาดคะเนกันว่า (มีต่อ)Summary: เมื่อมีระบบการซื้อ-ขายผ่านอินเทอร์เน็ตที่เรียกว่า "พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์" หรือ 'E-Commerce เติบโตมากขึ้น การซื้อ-ขาย สินค้าจะทำได้สะดวกรวดเร็วขึ้น การค้าจะเปลี่ยนจาก Paper-Based มาเป็น Electronic-Based ซึ่งทำสำเนาได้อย่างง่ายดาย สิ่งเหล่านี้คงเกิดขึ้นในไม่ช้าถ้าไม่เร่งรัดการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในระบบธุรกรรมการค้า (มีต่อ)Summary: ประเทศไทยก็จะเสียโอกาสในการแข่งขันได้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องเป็นส่วนสำคัญที่ถูกนำไปรวมเข้าไปกับแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในศตวรรษหน้า เราจำเป็นต้องสร้าง Social Software ของประเทศให้เข้มแข็ง ซึ่งได้แก่พื้นฐานความรู้ของคนในประเทศเพื่อการเกษตรการผลิตสินค้าที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้น มีระบบการศึกษาที่พัฒนากระบวนการความคิดรวมทั้งพัฒนาระบบสถาบันทั้งภาครัฐเอกชน และการเมืองให้มีคุณภาพเพื่อรองรับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การฟื้นฟูประเทศไม่ใช่แค่การทำให้ระบบเศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดังเช่นในอดีต เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลกจะเข้ามีบทบาทสำคัญต่อประเทศที่กำลังพัฒนาการขยายตัวอย่างรวดเร็วจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารนิเทศ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีการคาดคะเนกันว่า (มีต่อ)

เมื่อมีระบบการซื้อ-ขายผ่านอินเทอร์เน็ตที่เรียกว่า "พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์" หรือ 'E-Commerce เติบโตมากขึ้น การซื้อ-ขาย สินค้าจะทำได้สะดวกรวดเร็วขึ้น การค้าจะเปลี่ยนจาก Paper-Based มาเป็น Electronic-Based ซึ่งทำสำเนาได้อย่างง่ายดาย สิ่งเหล่านี้คงเกิดขึ้นในไม่ช้าถ้าไม่เร่งรัดการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงในระบบธุรกรรมการค้า (มีต่อ)

ประเทศไทยก็จะเสียโอกาสในการแข่งขันได้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องเป็นส่วนสำคัญที่ถูกนำไปรวมเข้าไปกับแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในศตวรรษหน้า เราจำเป็นต้องสร้าง Social Software ของประเทศให้เข้มแข็ง ซึ่งได้แก่พื้นฐานความรู้ของคนในประเทศเพื่อการเกษตรการผลิตสินค้าที่อาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้น มีระบบการศึกษาที่พัฒนากระบวนการความคิดรวมทั้งพัฒนาระบบสถาบันทั้งภาครัฐเอกชน และการเมืองให้มีคุณภาพเพื่อรองรับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป