4 หน่วยงานภาครัฐร่วมผลักดัน อุตสาหกรรมเข้าสู่มาตรฐาน ในการผลิต [GMP] / โสภา สถาพร

By: โสภา สถาพรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไทย -- อุตสาหกรรม | ไทย -- มาตรฐานการผลิต In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 97 - 99Summary: การดำเนินธุรกิจ ในยุคปัจจุบัน นับวันจะต้อง แข่งขันกันรุนแรงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกระแส เรื่องระบบการจัดการ ด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดดภัย ทั้งระบบ ISO 9000, ISO 14000, QS 9000,TQM, GMP และ HACCP ฯลฯ (มีต่อ)Summary: ดังนั้น ทุกบริษัท จำต้องตื่นตัว และเตรียมความพร้อม ขององค์กร รวมทั้งพนักงาน ให้มีความรู้ ทันต่อการค้าเสรี สำหรับ อุตสาหกรรมผู้ผลิต วัตถุอันตราย และเครื่องสำอาง ก็เช่นกัน จำเป็นต้อง ปรับปรุงตัวเอง ให้พร้อมตลอดเวลา (มีต่อ)Summary: เพื่อรองรับกระแสต่างๆ ที่มาอย่างรวดเร็ว ในระยะเวลานี้ คือต้องพัฒนา โรงงานให้เข้าสู่ ระบมาตรฐานการผลิตที่ดี (Good Manufacturing Practice : GMP) เพิ่มสูงขึ้น โดยมีกองควบคุม วัตถุมีพิษ และกองควบคุมเครื่องสำอาง (มีต่อ)Summary: สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) เป็นหน่วยงาน ที่ให้การรับรอง GMP เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ สุขอนามัย และความปลอดภัย ของผู้บริโภค ให้ได้รับการรับรอง GMP เพิ่มมากขึ้น ในปี 2542 สวทช. (มีต่อ)Summary: โดยกิจกรรม ที่ปรึกษา ทางอุตสาหกรรม ฝ่ายพัฒนาอุตสาหกรรม และธุรกิจเทคโนโลยี ได้ร่วมกับ ศูนย์บริการเทคโนโลยีเภสัชอุตสาหกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีต่อ)Summary: กองควบคุมวัตถุมีพิษ กองควบคุม เครื่องสำอาง อย. จัดทำโครงการ ยกระดับมาตรฐาน วิธีการที่ดี ในการผลิต อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ สุขอนามัย และความปลอดภัยของ ผู้บริโภคขึ้น (มีต่อ)Summary: ประโยชน์ที่ได้รับ จากโครงการนี้ นอกจากจะสามารถ เพิ่มจำนวน บริษัทที่ ได้รับการรับรอง GMP เพิ่มขึ้นแล้ว สามารถกระตุ้น บุคลากร ในภาคอุตสาหกรรม ให้ตระหนักถึง ความสำคัญของ GMP พัฒนาบุคลากร (มีต่อ)Summary: ทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถ จัดทำระบบ GMP ได้เอง รวมทั้งสร้างความร่วมมือ ระหว่างบริษัทต่อบริษัท ระหว่างบริษัทกับ นักวิชาการ จากภาครัฐ สร้างแหล่งเชื่อมโยงข้อมูล (มีต่อ)Summary: และติดต่อประสานงานด้าน GMP ในกลุ่มผู้ผลิต เครื่องสำอาง และวัตถุ อันตราย ซึ่งจะสามารถ พัฒนากลุ่ม อุตสาหกรรมนี้ ให้มีความแข็งแกร่ง และมีความร่วมมือกัน อย่างต่อเนื่องต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การดำเนินธุรกิจ ในยุคปัจจุบัน นับวันจะต้อง แข่งขันกันรุนแรงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกระแส เรื่องระบบการจัดการ ด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดดภัย ทั้งระบบ ISO 9000, ISO 14000, QS 9000,TQM, GMP และ HACCP ฯลฯ (มีต่อ)

ดังนั้น ทุกบริษัท จำต้องตื่นตัว และเตรียมความพร้อม ขององค์กร รวมทั้งพนักงาน ให้มีความรู้ ทันต่อการค้าเสรี สำหรับ อุตสาหกรรมผู้ผลิต วัตถุอันตราย และเครื่องสำอาง ก็เช่นกัน จำเป็นต้อง ปรับปรุงตัวเอง ให้พร้อมตลอดเวลา (มีต่อ)

เพื่อรองรับกระแสต่างๆ ที่มาอย่างรวดเร็ว ในระยะเวลานี้ คือต้องพัฒนา โรงงานให้เข้าสู่ ระบมาตรฐานการผลิตที่ดี (Good Manufacturing Practice : GMP) เพิ่มสูงขึ้น โดยมีกองควบคุม วัตถุมีพิษ และกองควบคุมเครื่องสำอาง (มีต่อ)

สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) เป็นหน่วยงาน ที่ให้การรับรอง GMP เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ สุขอนามัย และความปลอดภัย ของผู้บริโภค ให้ได้รับการรับรอง GMP เพิ่มมากขึ้น ในปี 2542 สวทช. (มีต่อ)

โดยกิจกรรม ที่ปรึกษา ทางอุตสาหกรรม ฝ่ายพัฒนาอุตสาหกรรม และธุรกิจเทคโนโลยี ได้ร่วมกับ ศูนย์บริการเทคโนโลยีเภสัชอุตสาหกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีต่อ)

กองควบคุมวัตถุมีพิษ กองควบคุม เครื่องสำอาง อย. จัดทำโครงการ ยกระดับมาตรฐาน วิธีการที่ดี ในการผลิต อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ สุขอนามัย และความปลอดภัยของ ผู้บริโภคขึ้น (มีต่อ)

ประโยชน์ที่ได้รับ จากโครงการนี้ นอกจากจะสามารถ เพิ่มจำนวน บริษัทที่ ได้รับการรับรอง GMP เพิ่มขึ้นแล้ว สามารถกระตุ้น บุคลากร ในภาคอุตสาหกรรม ให้ตระหนักถึง ความสำคัญของ GMP พัฒนาบุคลากร (มีต่อ)

ทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถ จัดทำระบบ GMP ได้เอง รวมทั้งสร้างความร่วมมือ ระหว่างบริษัทต่อบริษัท ระหว่างบริษัทกับ นักวิชาการ จากภาครัฐ สร้างแหล่งเชื่อมโยงข้อมูล (มีต่อ)

และติดต่อประสานงานด้าน GMP ในกลุ่มผู้ผลิต เครื่องสำอาง และวัตถุ อันตราย ซึ่งจะสามารถ พัฒนากลุ่ม อุตสาหกรรมนี้ ให้มีความแข็งแกร่ง และมีความร่วมมือกัน อย่างต่อเนื่องต่อไป