แนวนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการแข่งขันในสหัสวรรษใหม่ / มนู เลียวไพโรจน์

By: มนู เลียวไพโรจน์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย | อุตสาหกรรมรถยนต์ -- ไทย In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2544) หน้า 37 - 41Summary: เมื่อกล่าวถึงอุตสาหกรรมยานยนต์จัดเป็นกิจการขนาดใหญ่ ดังนั้นหากได้มีการพัฒนาอย่างครบวงจรแล้วจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศไทยอย่างสูงทั้งยังสามารถยกระดับเทคโนโลยีซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำหรับอุตสาหกรรมอื่นและสร้างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อประเทศอีกหลายประการ รัฐบาลจึงกำหนดให้อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว (มีต่อ)Summary: แนวนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกจำแนกได้ดังนี้ 1.มาตรการด้านภาษี 2.การดำเนินการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3.มาตรการสนับสนุน ผู้ประกอบการระดับ SME 4.ส่งเสริมการดำเนินงานของสถาบันยานยนต์ 5.โครงการจัดทำแผนแม่บทอุตสหกรรมยานยนต์ 6.มาตรการสนับสนุนอื่นๆ จากมาตรการต่างๆ ของรัฐบาล (มีต่อ)Summary: ประกอบกับความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ตลอดจนความได้เปรียบของประเทศไทยในด้านสถานที่ตั้งอันเหมาะแก่การเป็นศูนย์กลางการผลิต การเมืองมีความมั่นคง บุคลากรที่มีศักยภาพและมีความตั้งใจทำงาน ระบบสาธารณูปโภคค่อนข้างพร้อมสมบูรณ์และการย้ายฐานการผลิตของบริษัทยานยนต์รายใหญ่ของโลกมาในประเทศไทยล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์แห่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียในอนาคต
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เมื่อกล่าวถึงอุตสาหกรรมยานยนต์จัดเป็นกิจการขนาดใหญ่ ดังนั้นหากได้มีการพัฒนาอย่างครบวงจรแล้วจะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศไทยอย่างสูงทั้งยังสามารถยกระดับเทคโนโลยีซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำหรับอุตสาหกรรมอื่นและสร้างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อประเทศอีกหลายประการ รัฐบาลจึงกำหนดให้อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว (มีต่อ)

แนวนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกจำแนกได้ดังนี้ 1.มาตรการด้านภาษี 2.การดำเนินการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3.มาตรการสนับสนุน ผู้ประกอบการระดับ SME 4.ส่งเสริมการดำเนินงานของสถาบันยานยนต์ 5.โครงการจัดทำแผนแม่บทอุตสหกรรมยานยนต์ 6.มาตรการสนับสนุนอื่นๆ จากมาตรการต่างๆ ของรัฐบาล (มีต่อ)

ประกอบกับความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ตลอดจนความได้เปรียบของประเทศไทยในด้านสถานที่ตั้งอันเหมาะแก่การเป็นศูนย์กลางการผลิต การเมืองมีความมั่นคง บุคลากรที่มีศักยภาพและมีความตั้งใจทำงาน ระบบสาธารณูปโภคค่อนข้างพร้อมสมบูรณ์และการย้ายฐานการผลิตของบริษัทยานยนต์รายใหญ่ของโลกมาในประเทศไทยล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์แห่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียในอนาคต