แนวโน้มการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทย / วิไลวรรณ ปานนิยม

By: วิไลวรรณ ปานนิยมCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): อุตสาหกรรมไฟฟ้า -- ไทย | SCI-TECH | ไฟฟ้า In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2541) หน้า 42 - 43Summary: จากการพยากรณ์ ความต้องการการไฟฟ้า ล่าสุดพบว่า แนวโน้มการ ใช้ไฟฟ้า ในประเทศไทย จะยังคงเพิ่มขึ้นต่อไป แม้ว่าจะไม่ร้อนแรงเช่นในอดีต 30ปี ที่ผ่านมานี้ มีอัตราเฉลี่ย เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12ต่อปี โดยคาดว่าในปี 2542 การใช้ไฟฟ้า เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1 ปี 2543 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 (มีต่อ)Summary: และจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 6-7 ในปีต่อไป อย่างไรก็ตาม การพยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า ในปัจจุบันอาจมีความ แม่นยำน้อย กว่าในอดีต โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม และกิจการขนาดกลาง ซึ่งมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศ ปัจจัยที่ทำให้การคาดการณ์ใช้ไฟฟ้าในอนาคต อย่างถูกต้องเป็นไปได้อย่างยาก ลำบาก (มีต่อ)Summary: เนื่องจากการ คาดการณ์ การฟื้นตัวทาง เศรษฐกิจยังหาความชัดเจนไม่ได้ ประการสำคัญที่ มองข้ามไม่ได้ คือ แม้ว่าธุรกิจ อุตสาหกรรม จำนวนมากจะปิดตัวลง แต่เครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดจนสำนักงาน และสิ่งปลูกสร้าง (มีต่อ)Summary: ยังคงอยู่ นั่นหมายถึงความพร้อม ที่จะดำเนินกิจการ ต่อไป เมื่อใดก็ได้ที่เศรษฐกิจ ฟื้นตัว สถานการณ์ เช่นนี้ อาจทำให้ ความต้องการ การใช้ไฟฟ้า พลิกกลับขึ้นมา อย่างรวดเร็วได้เช่นกัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากการพยากรณ์ ความต้องการการไฟฟ้า ล่าสุดพบว่า แนวโน้มการ ใช้ไฟฟ้า ในประเทศไทย จะยังคงเพิ่มขึ้นต่อไป แม้ว่าจะไม่ร้อนแรงเช่นในอดีต 30ปี ที่ผ่านมานี้ มีอัตราเฉลี่ย เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12ต่อปี โดยคาดว่าในปี 2542 การใช้ไฟฟ้า เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1 ปี 2543 จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 (มีต่อ)

และจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 6-7 ในปีต่อไป อย่างไรก็ตาม การพยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า ในปัจจุบันอาจมีความ แม่นยำน้อย กว่าในอดีต โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม และกิจการขนาดกลาง ซึ่งมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศ ปัจจัยที่ทำให้การคาดการณ์ใช้ไฟฟ้าในอนาคต อย่างถูกต้องเป็นไปได้อย่างยาก ลำบาก (มีต่อ)

เนื่องจากการ คาดการณ์ การฟื้นตัวทาง เศรษฐกิจยังหาความชัดเจนไม่ได้ ประการสำคัญที่ มองข้ามไม่ได้ คือ แม้ว่าธุรกิจ อุตสาหกรรม จำนวนมากจะปิดตัวลง แต่เครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดจนสำนักงาน และสิ่งปลูกสร้าง (มีต่อ)

ยังคงอยู่ นั่นหมายถึงความพร้อม ที่จะดำเนินกิจการ ต่อไป เมื่อใดก็ได้ที่เศรษฐกิจ ฟื้นตัว สถานการณ์ เช่นนี้ อาจทำให้ ความต้องการ การใช้ไฟฟ้า พลิกกลับขึ้นมา อย่างรวดเร็วได้เช่นกัน