ปิโซ พลาสติกมหัศจรรย์แห่งสหสวรรษ / จรัส บุณยธรรมา

By: จรัส บุณยธรรมาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ปิโซอิเล็กตริซิตี้ | พลาสติก In: พลาสติก ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2543) หน้า 59Summary: ปิโซ ทำมาจากพลาสติกชนิด PVDF หรือโพลีไวนิลลิดีนฟลอไรด์ ในภาษากรีก ปิโซ แปลว่าแรงกด และมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ปิโซอิเล็กตริซิตี้ (Piezoeletricity) นักวิทยาศาสตร์เปรียบเปรยแผ่นพลาสติกปิโซว่า มีลักษณะการทำงานเหมือนฟองน้ำ แผ่นปิโซมีลักษณะใสและบางเหมือนกระดาษ สามารถบิดไปมาได้ (มีต่อ)Summary: และใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้ติดตั้งรับสัญญาณบนดาวเทียม เพื่อตรวจรับฝ่นผงในอวกาศอันเป็นตัวการทำให้อายุการใช้งานของดาวเทียมสั้นลง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงก็มักจะติดตั้งพลาสติกปิโซเพื่อคอยตรวจสอบแรงดันเข็มกดตลอดเวลา เพื่อให้ได้งานพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการใช้แผ่นปิโซ (มีต่อ)Summary: ตรวจสอบรอยร้าวในเครื่องบินไอพ่น ใช้ทำอุปกรณ์กันขโมย ใช้ตรวจจับความร้อนผ้าเบรกเพื่อป้องกันผ้าเบรกไหม้ และในอนาคตปิโซอาจมีชื่อเรียกใหม่ว่า (มีต่อ)Summary: Hydropiezo electricity ถ้าหากมนุษย์เราสามารถนำแผ่นพลาสติกปิโซไปเปลี่ยนพลังงานจากคลื่นในทะเลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากคลื่นในทะเลนี้บริสุทธิ์ไร้มลภาวะและไร้ขีดจำกัด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปิโซ ทำมาจากพลาสติกชนิด PVDF หรือโพลีไวนิลลิดีนฟลอไรด์ ในภาษากรีก ปิโซ แปลว่าแรงกด และมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ปิโซอิเล็กตริซิตี้ (Piezoeletricity) นักวิทยาศาสตร์เปรียบเปรยแผ่นพลาสติกปิโซว่า มีลักษณะการทำงานเหมือนฟองน้ำ แผ่นปิโซมีลักษณะใสและบางเหมือนกระดาษ สามารถบิดไปมาได้ (มีต่อ)

และใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้ติดตั้งรับสัญญาณบนดาวเทียม เพื่อตรวจรับฝ่นผงในอวกาศอันเป็นตัวการทำให้อายุการใช้งานของดาวเทียมสั้นลง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงก็มักจะติดตั้งพลาสติกปิโซเพื่อคอยตรวจสอบแรงดันเข็มกดตลอดเวลา เพื่อให้ได้งานพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการใช้แผ่นปิโซ (มีต่อ)

ตรวจสอบรอยร้าวในเครื่องบินไอพ่น ใช้ทำอุปกรณ์กันขโมย ใช้ตรวจจับความร้อนผ้าเบรกเพื่อป้องกันผ้าเบรกไหม้ และในอนาคตปิโซอาจมีชื่อเรียกใหม่ว่า (มีต่อ)

Hydropiezo electricity ถ้าหากมนุษย์เราสามารถนำแผ่นพลาสติกปิโซไปเปลี่ยนพลังงานจากคลื่นในทะเลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากคลื่นในทะเลนี้บริสุทธิ์ไร้มลภาวะและไร้ขีดจำกัด