การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลง ป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟหม่อน ในสภาพไร่ / สุเทพ สหายา ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): สุเทพ สหายาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เพลี้ยไฟหม่อน -- วิจัย | แมลง -- การควบคุม | แมลงศัตรูพืช | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2542) 33 - 36 หน้าSummary: เพลี้ยไฟหม่อน Pseudodendrothrip ornatissimus Schmutz เป็นแมลง ศัตรูพืช ที่สำคัญของหม่อน ในประเทศไทย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยไฟหม่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยง จากใบ ขณะเดียวกัน จะปล่อยสารพิษา เข้าสู่ใบหม่อน ทำให้ใบมีคุณภาพต่ำ ไม่เหมาะสม ในการนำไปเลี้ยงไหม หรืออุตสาหกรรม ผลิตชาหม่อน (มีต่อ)Summary: ได้ทำการทดสอบ ประสิทธิภาพ ของสารฆ่าแมลงบางชนิด ในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟหม่อน โดยดำเนินการ ทดลองที่ ศูนย์วิจัยหม่อนไหม อุดรธานี ในปี 2540 วางแผน การทดสอบแบบ RCB 3ซ้ำ มี 7กรรมวิธี คือ carbosuifan [Posse 20% EC], fipronil (Ascend 5%8 SC] (มีต่อ)Summary: imidacloprid [Admire 5% EC), dichlorvos [terra 50% EC), สารสกัดจากสะเดา [0.1% azadirachtin] และ monocrotophos [Azodrin 60% WSE] ในอัตรา 30,10,10,20,100 และ 20 ม.ล. ต่อน้ำ 20 ลิตร ตามลำดับ และไม่ใช้ สารฆ่าแมลง หลังจากพ่นสาร 7วัน พบว่า fipronil , carbosulfan (มีต่อ)Summary: และสารสกัดจากสะเดา มีจำนวน เพลี้ยไฟ เฉลี่ยไม่แตกต่าง จากสาร monocrotophos ซึ่งเป็นสาร มาตรฐาน เปรียบเทียบ ส่วนสาร imidacloprid และ dichlorvos มีจำนวนเพลี้ยไฟเฉลี่ย ไม่แตกต่าง จากกรรมวิธี ไม่พ่นสาร เมื่อประเมินผล ประสิทธิภาพ ในการป้องกันกำจัด (มีต่อ)Summary: พบว่า monocrotophos ให้ประสิทธิภาพสูงสุดคือ 86.99% รองลงมาได้แก่ fipronil 72.10% และสารสกัดจากสะเดา 65.23% ส่วน carbosulfan,imidacloprid และ dichllorvos ให้ประสิทธิภาพ ในการป้องกัน กำจัดต่ำกว่า 50%
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เพลี้ยไฟหม่อน Pseudodendrothrip ornatissimus Schmutz เป็นแมลง ศัตรูพืช ที่สำคัญของหม่อน ในประเทศไทย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยไฟหม่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยง จากใบ ขณะเดียวกัน จะปล่อยสารพิษา เข้าสู่ใบหม่อน ทำให้ใบมีคุณภาพต่ำ ไม่เหมาะสม ในการนำไปเลี้ยงไหม หรืออุตสาหกรรม ผลิตชาหม่อน (มีต่อ)

ได้ทำการทดสอบ ประสิทธิภาพ ของสารฆ่าแมลงบางชนิด ในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟหม่อน โดยดำเนินการ ทดลองที่ ศูนย์วิจัยหม่อนไหม อุดรธานี ในปี 2540 วางแผน การทดสอบแบบ RCB 3ซ้ำ มี 7กรรมวิธี คือ carbosuifan [Posse 20% EC], fipronil (Ascend 5%8 SC] (มีต่อ)

imidacloprid [Admire 5% EC), dichlorvos [terra 50% EC), สารสกัดจากสะเดา [0.1% azadirachtin] และ monocrotophos [Azodrin 60% WSE] ในอัตรา 30,10,10,20,100 และ 20 ม.ล. ต่อน้ำ 20 ลิตร ตามลำดับ และไม่ใช้ สารฆ่าแมลง หลังจากพ่นสาร 7วัน พบว่า fipronil , carbosulfan (มีต่อ)

และสารสกัดจากสะเดา มีจำนวน เพลี้ยไฟ เฉลี่ยไม่แตกต่าง จากสาร monocrotophos ซึ่งเป็นสาร มาตรฐาน เปรียบเทียบ ส่วนสาร imidacloprid และ dichlorvos มีจำนวนเพลี้ยไฟเฉลี่ย ไม่แตกต่าง จากกรรมวิธี ไม่พ่นสาร เมื่อประเมินผล ประสิทธิภาพ ในการป้องกันกำจัด (มีต่อ)

พบว่า monocrotophos ให้ประสิทธิภาพสูงสุดคือ 86.99% รองลงมาได้แก่ fipronil 72.10% และสารสกัดจากสะเดา 65.23% ส่วน carbosulfan,imidacloprid และ dichllorvos ให้ประสิทธิภาพ ในการป้องกัน กำจัดต่ำกว่า 50%