การป้องกันอันตรายเมื่อต้องทำงาน กับวงจรไฟฟ้ากำลังสูง / ขวัญชัย กุลสันติธำรงค์

By: ขวัญชัย กุลสันติธำรงค์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ไฟฟ้า -- การป้องกัน | SCI-TECHSummary: อันตรายจากไฟฟ้าแรงสูง มีโอกาสเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา จากการปฏิบัติ กับอุปกรณ์ หรือวงจรไฟฟ้ากำลังสูง ซึ่งอันตราย จากไฟฟ้าแรงสูง แบ่งได้เป็น อันตรายจากไฟฟ้าดูด อันตรายจากการ เกิดอาร์กไฟฟ้า และการระเบิดไฟฟ้าจากไฟฟ้า และอันตราย จากการอันตราย จากการขาดอากาศ หายใจและการได้รับสารพิษ การเสียชีวิตด้วยกระแสไฟฟ้า (มีต่อ)Summary: ในอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ เกิดการจาก ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสกับวัตถุที่มีไฟฟ้า ณ ระดับแรงดันไฟฟ้า ค่าหนึ่งทำให้เกิดไฟฟ้าดูดขึ้น ไฟฟ้าดูด คือการปรากฏการณ์ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และอาจถึงแก่ชีวิตได้ วิธีป้องกัน ไฟฟ้าดูดที่ได้ผล มี2วิธีได้แก่ 1.การเข้าปฏิบัติงานเมื่อวงจร นั้นไม่มีไฟฟ้าแล้ว (มีต่อ)Summary: 2.การใช้เครื่องอุปกรณ์และขั้นตอน เพื่อความปลอดภัยที่เหมาะสม เมื่อต้องทำงานกับ หรือกลไกลกับวงจร ที่มีไฟฟ้าอยู่ การใช้อุปกรณ์ ป้องกันส่วนบุคคล เช่น ถุงมือ ผ้าคลุม ถุงเท้า รองเท้า ฯลฯ ตลอดเวลา ด้วยความระมัดระวัง ซึ่งสามารถเพิ่มความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงานได้ (มีต่อ)Summary: คลื่นความดัน ที่ทำให้เกิดจาก อาร์กไฟฟ้าพลังงานสูง ได้ช่วยชีวิต ผู้เคราะห์ร้ายจำนวนมาก โดยพัดพาร่างของผู้เคราะห์ร้าย ลอยห่างจากแหล่งความร้อน แต่ขณะเดียวกัน แรงดันที่เกิดขึ้นดังกล่าว ก็เป็นสาเหตุ ทำให้เกิดการบาดเจ็บอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการบาดเจ็บ จากการกระแทก กับของแข็งขณะที่ถูกพัด ลอยมา การสูญเสีย การได้ยิน (มีต่อ)Summary: และ สมองอาจจะได้รับ ความกระทบกระเทือน นอกจากนี้ อาจได้รับ บาดเจ็บจากชิ้นส่วน ทางกลของเครื่องห่อหุ้มลอย มากระแทก หรือโลหะหลอม ละลาย ตกกระทบ ทำให้เกิดแผล ไฟไหม้ เสื้อผ้าหรือร่างกายเกิดการลุกไหม้ ดังนั้นการออกแบบ และการเลือกใช้วัสดุ ในการผลิตชุดปฏิบัติงาน (มีต่อ)Summary: เพื่อให้เกิดความปลอดภัย เมื่อต้องทำงานใกล้ กับประกายไฟ จึงเป็นสิ่งจำเป็น การขาดอากาศหายใจ และการได้รับสารพิษ นั้นผู้ปฏิบัติงาน สามารถหลีกเลี่ยงอันตราย การขาดอากาศหายใจ และการได้รับสารพิษต่างๆ โดยการทดสอบอากาศโดยรอบ การใช้ถังออกซิเจนสำรอง และปฏิบัติ ตามข้อกำหนด เกี่ยวกับความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงาน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

อันตรายจากไฟฟ้าแรงสูง มีโอกาสเกิดขึ้น ได้ตลอดเวลา จากการปฏิบัติ กับอุปกรณ์ หรือวงจรไฟฟ้ากำลังสูง ซึ่งอันตราย จากไฟฟ้าแรงสูง แบ่งได้เป็น อันตรายจากไฟฟ้าดูด อันตรายจากการ เกิดอาร์กไฟฟ้า และการระเบิดไฟฟ้าจากไฟฟ้า และอันตราย จากการอันตราย จากการขาดอากาศ หายใจและการได้รับสารพิษ การเสียชีวิตด้วยกระแสไฟฟ้า (มีต่อ)

ในอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ เกิดการจาก ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสกับวัตถุที่มีไฟฟ้า ณ ระดับแรงดันไฟฟ้า ค่าหนึ่งทำให้เกิดไฟฟ้าดูดขึ้น ไฟฟ้าดูด คือการปรากฏการณ์ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และอาจถึงแก่ชีวิตได้ วิธีป้องกัน ไฟฟ้าดูดที่ได้ผล มี2วิธีได้แก่ 1.การเข้าปฏิบัติงานเมื่อวงจร นั้นไม่มีไฟฟ้าแล้ว (มีต่อ)

2.การใช้เครื่องอุปกรณ์และขั้นตอน เพื่อความปลอดภัยที่เหมาะสม เมื่อต้องทำงานกับ หรือกลไกลกับวงจร ที่มีไฟฟ้าอยู่ การใช้อุปกรณ์ ป้องกันส่วนบุคคล เช่น ถุงมือ ผ้าคลุม ถุงเท้า รองเท้า ฯลฯ ตลอดเวลา ด้วยความระมัดระวัง ซึ่งสามารถเพิ่มความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงานได้ (มีต่อ)

คลื่นความดัน ที่ทำให้เกิดจาก อาร์กไฟฟ้าพลังงานสูง ได้ช่วยชีวิต ผู้เคราะห์ร้ายจำนวนมาก โดยพัดพาร่างของผู้เคราะห์ร้าย ลอยห่างจากแหล่งความร้อน แต่ขณะเดียวกัน แรงดันที่เกิดขึ้นดังกล่าว ก็เป็นสาเหตุ ทำให้เกิดการบาดเจ็บอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการบาดเจ็บ จากการกระแทก กับของแข็งขณะที่ถูกพัด ลอยมา การสูญเสีย การได้ยิน (มีต่อ)

และ สมองอาจจะได้รับ ความกระทบกระเทือน นอกจากนี้ อาจได้รับ บาดเจ็บจากชิ้นส่วน ทางกลของเครื่องห่อหุ้มลอย มากระแทก หรือโลหะหลอม ละลาย ตกกระทบ ทำให้เกิดแผล ไฟไหม้ เสื้อผ้าหรือร่างกายเกิดการลุกไหม้ ดังนั้นการออกแบบ และการเลือกใช้วัสดุ ในการผลิตชุดปฏิบัติงาน (มีต่อ)

เพื่อให้เกิดความปลอดภัย เมื่อต้องทำงานใกล้ กับประกายไฟ จึงเป็นสิ่งจำเป็น การขาดอากาศหายใจ และการได้รับสารพิษ นั้นผู้ปฏิบัติงาน สามารถหลีกเลี่ยงอันตราย การขาดอากาศหายใจ และการได้รับสารพิษต่างๆ โดยการทดสอบอากาศโดยรอบ การใช้ถังออกซิเจนสำรอง และปฏิบัติ ตามข้อกำหนด เกี่ยวกับความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงาน