การป้องกันแรงดันเกินฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่ใช้สายอะลูมิเนียมหุ้มฉนวนแบบไม่เต็มพิกัด / ชิษณุพงศ์ สัจจะวัฒนวิมล

By: ชิษณุพงศ์ สัจจะวัฒนวิมลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไฟฟ้า In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2542) หน้า 79 - 86Summary: บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ทรานเซียนต์จากเสิร์จฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายไฟฟ้า 3 เฟส 22 กิโลโวลต์ด้วยโปรแกรม EMTP เพื่อกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายให้เหมาะสมกับความหนาแน่นของฟ้าผ่าในแต่ละพื้นที่ แรงดันเกิดฟ้าผ่าทึ่จุดต่างๆ ในระบบจำหน่ายและอัตราการเกิดวาบไฟ ตามผิวจะถูกคำนวณ จากข้อมูลตำแหน่งฟ้าผ่าและวันเกิดฝนตกฟ้าคะนองที่ได้จากการวัดจริงในประเทศไทย กรณีศึกษาเป็นระบบจำหน่ายในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งมีสถิติสายอะลูมิเนียมหุ้มฉนวนแบบไม่เติมพิกัดเกิดการอาร์กขาดสูงเนื่องจากฟ้าผ่า ผลการศึกษาพบว่าการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าที่ทุกๆ ระยะ 240 เมตร เหมาะสมกับการป้องกันแรงดันเกินฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายที่มีค่าความต้านทานรากสายดินไม่เกิน 60 โอห์ม โดยมีผลป้องกันการเกิดวาบไฟตามผิวได้ 73%
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ทรานเซียนต์จากเสิร์จฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายไฟฟ้า 3 เฟส 22 กิโลโวลต์ด้วยโปรแกรม EMTP เพื่อกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายให้เหมาะสมกับความหนาแน่นของฟ้าผ่าในแต่ละพื้นที่ แรงดันเกิดฟ้าผ่าทึ่จุดต่างๆ ในระบบจำหน่ายและอัตราการเกิดวาบไฟ ตามผิวจะถูกคำนวณ จากข้อมูลตำแหน่งฟ้าผ่าและวันเกิดฝนตกฟ้าคะนองที่ได้จากการวัดจริงในประเทศไทย กรณีศึกษาเป็นระบบจำหน่ายในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งมีสถิติสายอะลูมิเนียมหุ้มฉนวนแบบไม่เติมพิกัดเกิดการอาร์กขาดสูงเนื่องจากฟ้าผ่า ผลการศึกษาพบว่าการติดตั้งกับดักฟ้าผ่าที่ทุกๆ ระยะ 240 เมตร เหมาะสมกับการป้องกันแรงดันเกินฟ้าผ่าในระบบจำหน่ายที่มีค่าความต้านทานรากสายดินไม่เกิน 60 โอห์ม โดยมีผลป้องกันการเกิดวาบไฟตามผิวได้ 73%