การวิเคราะห์เสถียรภาพของระบบส่งกำลังไฟฟ้า ด้วยวิธี Modifield Euler Method ร่วมกับ Network Derformance Equation / ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์, อัศวิน นันทชัย

By: ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์Contributor(s): อัศวิน นันทชัยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไฟฟ้า In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (มีนาคม-เมษายน 2543) หน้า 59-63Summary: เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นในระบบกำลังไฟฟ้า เรื่องของเสถียรภาพเป็นสิ่งสำคัญมาก ในการวางแผนขยายระบบกำลังไฟฟ้าล้วนต้องผ่านขึ้นการวิเคราะห์ทางด้านเสถียรภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่เนื่องจากระบบกำลังไฟฟ้าประกอบไปด้วยระบบผลิต ระบบส่งและระบบจำหน่าย ซึ่งหากวิเคราะห์เสถียรภาพแต่เพียงพิจารณาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอย่างเดียว จะไม่ครอบคลุมไปถึงระบบส่งและระบบจำหน่าย ดังนั้นจึงต้องพิจารณาไปพร้อมๆ กัน โดยมีเรื่องของการป้องกัน เข้ามาร่วมพิจารณาด้วย จะให้ผลการวิเคราะห์ที่ตรงกับความเป็นจริงมากกว่า (มีต่อ)Summary: บทความนี้ได้เสนอแนะถึงพฤติกรรมทในด้านต่างๆ ของระบบกำลังไฟฟ้าในช่วงเวลา 1 วินาที โดยใช้วิธีวิเคราะห์เสถียรภาพแบบ Clessical Model และใช้ Modified Euler Method ร่วมกับ Network Performance Equation ในการคำนวณ จากนั้นได้ทำการทดลองกับระบบที่ได้วิเคราะห์ไปแล้วพบว่า เมื่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ 2 ทริฟระบบยังคงมีเสถียรภาพในช่วงเวลา 1 วินาที แต่ศักดาไฟฟ้าใน Area 2 จะลดลงอย่างมากและเกิดการแกว่ง ส่วนกำลังไฟฟ้าที่ส่งผ่าน Tie-Line มีค่าสูงกว่าปกติและเกิดการแกว่งอย่างมากในช่วงแรก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นในระบบกำลังไฟฟ้า เรื่องของเสถียรภาพเป็นสิ่งสำคัญมาก ในการวางแผนขยายระบบกำลังไฟฟ้าล้วนต้องผ่านขึ้นการวิเคราะห์ทางด้านเสถียรภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่เนื่องจากระบบกำลังไฟฟ้าประกอบไปด้วยระบบผลิต ระบบส่งและระบบจำหน่าย ซึ่งหากวิเคราะห์เสถียรภาพแต่เพียงพิจารณาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอย่างเดียว จะไม่ครอบคลุมไปถึงระบบส่งและระบบจำหน่าย ดังนั้นจึงต้องพิจารณาไปพร้อมๆ กัน โดยมีเรื่องของการป้องกัน เข้ามาร่วมพิจารณาด้วย จะให้ผลการวิเคราะห์ที่ตรงกับความเป็นจริงมากกว่า (มีต่อ)

บทความนี้ได้เสนอแนะถึงพฤติกรรมทในด้านต่างๆ ของระบบกำลังไฟฟ้าในช่วงเวลา 1 วินาที โดยใช้วิธีวิเคราะห์เสถียรภาพแบบ Clessical Model และใช้ Modified Euler Method ร่วมกับ Network Performance Equation ในการคำนวณ จากนั้นได้ทำการทดลองกับระบบที่ได้วิเคราะห์ไปแล้วพบว่า เมื่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ 2 ทริฟระบบยังคงมีเสถียรภาพในช่วงเวลา 1 วินาที แต่ศักดาไฟฟ้าใน Area 2 จะลดลงอย่างมากและเกิดการแกว่ง ส่วนกำลังไฟฟ้าที่ส่งผ่าน Tie-Line มีค่าสูงกว่าปกติและเกิดการแกว่งอย่างมากในช่วงแรก