การปรับขนาดองค์กรยามวิกฤต / บัวเรียน มาลัยศรี

By: บัวเรียน มาลัยศรีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การจัดการอุตสาหกรรม | ภาวะเศรษฐกิจ | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่10 (ตุลาคม 2541) หน้า 68 - 71Summary: ปัจจุบัน จำนวนตัวเลข การปิดตัวของบริษัท มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบ กับปีที่ผ่านมา ส่วนมากจะเป็นกลุ่ม บริษัทขนาดกลาง ที่ไม่สามารถ ดำเนินกิจการให้อยู่รอดได้ ภายใต้การบริหารงาน ของความผันผวน ทางเศรษฐกิจ เนื่องจากปัญหาส่วนมาก ที่เกิดขึ้น จะมาจาก สภาพคล่อง ทางด้านการเงิน และอัตราดอกเบี้ยสูง (มีต่อ)Summary: แต่ในทางกลับกัน ผู้ประกอบการ บางรายกลับพยายาม สร้างโอกาส เพื่อพยุงธุรกิจ ให้ก้าวไปข้างหน้า ได้อย่างมั่นคง ด้วยการนำนโยบาย การลดค่าใช้จ่าย ที่ไม่จำเป็นลง 50% ลดต้นทุนการผลิต 10% ลดเวลาการทำงาน 50% ลดเงินเดือนพนักงาน 25% และลดจำนวนพนักงาน 50% เข้ามาดำเนินการ (มีต่อ)Summary: สำหรับการบริหารงาน เพื่อการสร้างความอยู่รอด ภายใต้เศรษฐกิจ ตกต่ำประกอบด้วย 1.การมุ่งเน้นลูกค้า 2. การออกแบบ 3. ทรัพยากรบุคคล 4.คุณภาพ 5.สารสนเทศ 6.สมรรถนะ 7.การส่งเสริมการขายและการตลาด (มีต่อ)Summary: ไม่ว่าการเปลี่ยแปลง ทางเศรษฐกิจ จะผันผวนไปในทิศทางใด สิ่งที่เกิดขึ้นเสมือน การทดสอบ ความเข้มแข็ง และความสามารถในการ ต่อสู้ของธุรกิจทุกชนิด และผู้ที่อ่อนแอ จำเป็นต้องทำ ตนเองให้เข้มแข็ง และผู้ที่เข้มแข็งกว่าเท่านั้น ถึงจะอยู่รอดได้ในปัจจุบัน และเติบโตได้ในอนาคต
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบัน จำนวนตัวเลข การปิดตัวของบริษัท มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบ กับปีที่ผ่านมา ส่วนมากจะเป็นกลุ่ม บริษัทขนาดกลาง ที่ไม่สามารถ ดำเนินกิจการให้อยู่รอดได้ ภายใต้การบริหารงาน ของความผันผวน ทางเศรษฐกิจ เนื่องจากปัญหาส่วนมาก ที่เกิดขึ้น จะมาจาก สภาพคล่อง ทางด้านการเงิน และอัตราดอกเบี้ยสูง (มีต่อ)

แต่ในทางกลับกัน ผู้ประกอบการ บางรายกลับพยายาม สร้างโอกาส เพื่อพยุงธุรกิจ ให้ก้าวไปข้างหน้า ได้อย่างมั่นคง ด้วยการนำนโยบาย การลดค่าใช้จ่าย ที่ไม่จำเป็นลง 50% ลดต้นทุนการผลิต 10% ลดเวลาการทำงาน 50% ลดเงินเดือนพนักงาน 25% และลดจำนวนพนักงาน 50% เข้ามาดำเนินการ (มีต่อ)

สำหรับการบริหารงาน เพื่อการสร้างความอยู่รอด ภายใต้เศรษฐกิจ ตกต่ำประกอบด้วย 1.การมุ่งเน้นลูกค้า 2. การออกแบบ 3. ทรัพยากรบุคคล 4.คุณภาพ 5.สารสนเทศ 6.สมรรถนะ 7.การส่งเสริมการขายและการตลาด (มีต่อ)

ไม่ว่าการเปลี่ยแปลง ทางเศรษฐกิจ จะผันผวนไปในทิศทางใด สิ่งที่เกิดขึ้นเสมือน การทดสอบ ความเข้มแข็ง และความสามารถในการ ต่อสู้ของธุรกิจทุกชนิด และผู้ที่อ่อนแอ จำเป็นต้องทำ ตนเองให้เข้มแข็ง และผู้ที่เข้มแข็งกว่าเท่านั้น ถึงจะอยู่รอดได้ในปัจจุบัน และเติบโตได้ในอนาคต