โครงสร้างป้องกันไฟสำหรับอาคารโรงงาน / พรชัย สนะฟี

By: พรชัย สนะฟีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม | โรงงาน -- อัคคีภัยและการป้องกันอัคคีภัย In: โรงงาน ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (มิถุนายน - กันยายน 2542) หน้า 49-51Summary: เป้าหมายหลักของการจัดการภายในโรงงานก็คือ การจัดการให้กระบวนการผลิตดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง ลดเหตุการณ์ร้ายแรงที่จะมีผลกระทบต่อกระบวนการผลิตให้น้อยลง การสูญเสียเวลาในกระบวนการผลิตนานเท่าไร ผลกำไรของกิจการก็จะลดลงตามเวลาที่เสียไป สิ่งหนึ่งที่จะมีผลกระทบร้ายแรงต่อการประกอบกิจการโรงงานก็คือ (มีต่อ)Summary: การเกิดอัคคีภัยในโรงงาน ฉะนั้นสิ่งที่ผู้ประกอบการโรงงานหรือวิศวกรและสถาปนิกผู้ออกแบบโรงงานจะต้องคำนึงถึงในเรื่องของความปลอดภัยเพื่อป้องกันอันตรายจากอัคคีภัยเพิ่มเติมจากการติดตั้งอุปกรณ์ระงับอัคคีภัยแล้ว การออกแบบอาคารโรงงานเป็นสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในเบื้องต้นเพื่อรักษาสภาพของโครงสร้างอาคารไว้ให้ได้นานที่สุด (มีต่อ)Summary: โดยมีหลักการที่สำคัญสามแนวทางคือ อันดับแรกโครงสร้างของอาคารในส่วนที่เป็นโครงสร้างเหล็กควรจะพ่นทับด้วยวัสดุป้องกันไฟได้ ขั้นที่สองจะต้องกำหนดตำแหน่งและกลุ่มของช่องระบายอากาศมากน้อยตามโอกาส หรือความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภัยในแต่ละพื้นที่ของอาคาร (มีต่อ)Summary: ขั้นที่สาม จะต้องแบ่งกั้นส่วนของโครงหลังคาด้วยแผ่นกันไฟในทุกๆ 3-4 ช่วง ช่วงของโครงหลังคา เพื่อป้องกันการกระจายของไฟไปยังส่วนอื่นๆ ของอาคารโดยช่วงระยะของแผ่นกันไฟไม่ควรห่างเกินกว่า 50 เมตร
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เป้าหมายหลักของการจัดการภายในโรงงานก็คือ การจัดการให้กระบวนการผลิตดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง ลดเหตุการณ์ร้ายแรงที่จะมีผลกระทบต่อกระบวนการผลิตให้น้อยลง การสูญเสียเวลาในกระบวนการผลิตนานเท่าไร ผลกำไรของกิจการก็จะลดลงตามเวลาที่เสียไป สิ่งหนึ่งที่จะมีผลกระทบร้ายแรงต่อการประกอบกิจการโรงงานก็คือ (มีต่อ)

การเกิดอัคคีภัยในโรงงาน ฉะนั้นสิ่งที่ผู้ประกอบการโรงงานหรือวิศวกรและสถาปนิกผู้ออกแบบโรงงานจะต้องคำนึงถึงในเรื่องของความปลอดภัยเพื่อป้องกันอันตรายจากอัคคีภัยเพิ่มเติมจากการติดตั้งอุปกรณ์ระงับอัคคีภัยแล้ว การออกแบบอาคารโรงงานเป็นสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงในเบื้องต้นเพื่อรักษาสภาพของโครงสร้างอาคารไว้ให้ได้นานที่สุด (มีต่อ)

โดยมีหลักการที่สำคัญสามแนวทางคือ อันดับแรกโครงสร้างของอาคารในส่วนที่เป็นโครงสร้างเหล็กควรจะพ่นทับด้วยวัสดุป้องกันไฟได้ ขั้นที่สองจะต้องกำหนดตำแหน่งและกลุ่มของช่องระบายอากาศมากน้อยตามโอกาส หรือความเสี่ยงของการเกิดอัคคีภัยในแต่ละพื้นที่ของอาคาร (มีต่อ)

ขั้นที่สาม จะต้องแบ่งกั้นส่วนของโครงหลังคาด้วยแผ่นกันไฟในทุกๆ 3-4 ช่วง ช่วงของโครงหลังคา เพื่อป้องกันการกระจายของไฟไปยังส่วนอื่นๆ ของอาคารโดยช่วงระยะของแผ่นกันไฟไม่ควรห่างเกินกว่า 50 เมตร