ผลิตอย่างปลอดภัย / วิฑูรย์ สิมะโชคดี

By: วิฑูรย์ สิมะโชคดีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 53 เล่มที่ 8 (สิงหาคม 2543) หน้า 85Summary: การเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม (Safety) นับวันจะมีความสำคัญต่อความสำเร็จของการบริหารโรงงานมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะขบวนการผลิตที่มีความปลอดภัย ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุอันตรายมีน้อยมาก ความสูญเสียและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับอุบัติเหตุก็ลดลง (มีต่อ)Summary: เช่น ค่ารักษาพยาบาลคนงาน หรือผู้บาดเจ็บพิการ ค่าซ่อมแซมเครื่องจักรเครื่องมือ ค่าสูญเสียเวลาและโอกาส เป็นต้น เมื่อประหยัดค่าใช้จ่ายได้ ต้นทุนการผลิตของโรงงานก็ลดลง สินค้าที่ผลิตได้ก็สามารถแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งในท้องตลาด และผลตอบแทนด้านกำไรของโรงงานก็สูงขึ้นนั่นเอง ความปลอดภัยจะต้องสอดแทรกและกลมกลืน (มีต่อ)Summary: เข้าไปในขบวนการผลิตสินค้าโรงาน จึงจะบรรลุเป้าหมายของการบริหารโรงงานได้ เพราะจุดประสงค์หลักของการบริหารโรงงานก็คือ การผลิตที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด การที่จะบรรลุจุดประสงค์ได้นั้น ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบหรือทรัพยากรพื้นฐานของโรงงานสองประเภท ประเภทแรก คือ แรงงาน (คน) ประเภทที่สอง ได้แก่ วัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม (Safety) นับวันจะมีความสำคัญต่อความสำเร็จของการบริหารโรงงานมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะขบวนการผลิตที่มีความปลอดภัย ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุอันตรายมีน้อยมาก ความสูญเสียและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับอุบัติเหตุก็ลดลง (มีต่อ)

เช่น ค่ารักษาพยาบาลคนงาน หรือผู้บาดเจ็บพิการ ค่าซ่อมแซมเครื่องจักรเครื่องมือ ค่าสูญเสียเวลาและโอกาส เป็นต้น เมื่อประหยัดค่าใช้จ่ายได้ ต้นทุนการผลิตของโรงงานก็ลดลง สินค้าที่ผลิตได้ก็สามารถแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งในท้องตลาด และผลตอบแทนด้านกำไรของโรงงานก็สูงขึ้นนั่นเอง ความปลอดภัยจะต้องสอดแทรกและกลมกลืน (มีต่อ)

เข้าไปในขบวนการผลิตสินค้าโรงาน จึงจะบรรลุเป้าหมายของการบริหารโรงงานได้ เพราะจุดประสงค์หลักของการบริหารโรงงานก็คือ การผลิตที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด การที่จะบรรลุจุดประสงค์ได้นั้น ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบหรือทรัพยากรพื้นฐานของโรงงานสองประเภท ประเภทแรก คือ แรงงาน (คน) ประเภทที่สอง ได้แก่ วัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์