ระบบบริหารคุณภาพงานก่อสร้างนั้นสำคัญไฉน

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): มาตรฐานการผลิต | SCI-TECH | อุตสาหกรรมการก่อสร้าง In: ข่าวช่าง ปีที่ 26 ฉบับที่ 299 (มีนาคม 2540) หน้า 41 - 43Summary: ISO 9000 คือ ระบบมาตรฐาน การจัดระบบการทำงาน ให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน ในทุกชาติ โดยระบบดังกล่าว เป็นผลผลิตขององค์กร ชื่อ The Internation Organization for Standardization (ISO) มีสำนักงาน ตั้งอยู่ที่ กรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ (มีต่อ)Summary: ถือเป็นสถาบัน ที่เกิดขึ้น จากการ รวมตัวกันระหว่าง องค์กรอุตสาหกรรม ของนานาประเทศ โดยมีพันธะสัญญา ที่จะพัฒนา มาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะช่วย สนับสนุน การค้าระหว่างชาติ และใช้มาตรฐาน ที่ได้จัดทำ ขึ้นเป็น เกณฑ์ ในการดำเนินงาน ของผู้ประกอบ ธุรกิจอุตสาหกรรมต่างๆ (มีต่อ)Summary: สำหรับ ในประเทศไทย สำนักงาน มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวง อุตสาหกรรม ในฐานะ สถาบัน มาตรฐาน แห่งชาติ ได้นำหลักเกณฑ์ของ ISO 9000 มาปรับใช้ โดยการรับรอง คุณภาพทั้ง ระบบโรงงาน ซึ่งประกอบด้วย การจัดองค์กร การบริหารงานผลิต (มีต่อ)Summary: ตลอดจน การใช้บริการ ภายใต้ อนุกรมมาตรฐาน ระบบคุณภาพ มอก.-ISO 9000 โดย มอก.-ISO 9000 ที่สมอ. กำหนดขึ้นมา แบ่งออกเป็น 5 หมวด คือ มาตรฐาน การบริหาร อุตสาหกรรม และ การประกัน คุณภาพ : แนวทาง การเลือกใช้ และการใช้ (มอก.-ISO 9000), (มีต่อ)Summary: มาตรฐานระบบคุณภาพ : แบบการประกัน คุณภาพ ในการผลิต และการติดตั้ง, มาตรฐาน ระบบคุณภาพ ในการตรวจ และ ทดสอบขั้นสุดท้าย, มาตรฐาน การบริหาร คุณภาพ และหัวข้อต่างๆ ในระบบ คุณภาพ แนวทางการใช้ ปัจจุบัน มาตรฐาน ดังกล่าว ได้ครอบคลุม ไปถึงกลุ่ม อุตสาหกรรม (มีต่อ)Summary: ที่เกี่ยวข้อง กับการก่อสร้าง ทั้งโดยตรง และ โดยทางอ้อม รวมถึง อุตสาหกรรม กอ่สร้างเอง เนื่องจาก สำนักนายกรัฐมนตรี ได้มีมาตรการ ส่งเสริม ผู้ประกอบการ ที่ได้รับ การรับรอง คุณภาพ มาตรฐาน มอก.-ISO 9000 ให้ได้รับ สิทธิประโยชน์ ในการซื้อ หรือ จ้างของภาครัฐ (มีต่อ)Summary: ในทำนอง เดียวกับ การซื้อ การจ้าง ทำพัสดุ ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 โดยขอให้ กำหนด เพิ่มเติม ในระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุว่า เพื่อต้องการ ที่จะเพิ่ม ความแน่นอน ในคุณภาพ ของงาน ก่อสร้าง และสอดคล้อง กับมติคณะรัฐมนตรี (มีต่อ)Summary: เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2536 ที่กำหนด เวลาให้กับ ผู้รับจ้าง รับผิดชอบ ต่อความชำรุด บกพร่องของงาน ก่อสร้างเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งทาง คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุ (กวพ) ได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า การรับรอง ระบบคุณภาพ มาตรฐาน มอก.-ISO 9000 เป็นมาตรฐาน อุตสาหกรรม (มีต่อ)Summary: ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ในการซื้อ หรือ จ้างทำพัสดุ ที่มี ประกาศกำหนด มอก.-ISO 9000 แล้วส่วนราชการ ก็ย่อมจะ กำหนดรายละเอียด ของพัสดุตาม มอก.-ISO 9000 ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 (2) หรือ (4) แล้วแต่กรณี ได้โดยอนุโลม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ISO 9000 คือ ระบบมาตรฐาน การจัดระบบการทำงาน ให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน ในทุกชาติ โดยระบบดังกล่าว เป็นผลผลิตขององค์กร ชื่อ The Internation Organization for Standardization (ISO) มีสำนักงาน ตั้งอยู่ที่ กรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ (มีต่อ)

ถือเป็นสถาบัน ที่เกิดขึ้น จากการ รวมตัวกันระหว่าง องค์กรอุตสาหกรรม ของนานาประเทศ โดยมีพันธะสัญญา ที่จะพัฒนา มาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่งจะช่วย สนับสนุน การค้าระหว่างชาติ และใช้มาตรฐาน ที่ได้จัดทำ ขึ้นเป็น เกณฑ์ ในการดำเนินงาน ของผู้ประกอบ ธุรกิจอุตสาหกรรมต่างๆ (มีต่อ)

สำหรับ ในประเทศไทย สำนักงาน มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวง อุตสาหกรรม ในฐานะ สถาบัน มาตรฐาน แห่งชาติ ได้นำหลักเกณฑ์ของ ISO 9000 มาปรับใช้ โดยการรับรอง คุณภาพทั้ง ระบบโรงงาน ซึ่งประกอบด้วย การจัดองค์กร การบริหารงานผลิต (มีต่อ)

ตลอดจน การใช้บริการ ภายใต้ อนุกรมมาตรฐาน ระบบคุณภาพ มอก.-ISO 9000 โดย มอก.-ISO 9000 ที่สมอ. กำหนดขึ้นมา แบ่งออกเป็น 5 หมวด คือ มาตรฐาน การบริหาร อุตสาหกรรม และ การประกัน คุณภาพ : แนวทาง การเลือกใช้ และการใช้ (มอก.-ISO 9000), (มีต่อ)

มาตรฐานระบบคุณภาพ : แบบการประกัน คุณภาพ ในการผลิต และการติดตั้ง, มาตรฐาน ระบบคุณภาพ ในการตรวจ และ ทดสอบขั้นสุดท้าย, มาตรฐาน การบริหาร คุณภาพ และหัวข้อต่างๆ ในระบบ คุณภาพ แนวทางการใช้ ปัจจุบัน มาตรฐาน ดังกล่าว ได้ครอบคลุม ไปถึงกลุ่ม อุตสาหกรรม (มีต่อ)

ที่เกี่ยวข้อง กับการก่อสร้าง ทั้งโดยตรง และ โดยทางอ้อม รวมถึง อุตสาหกรรม กอ่สร้างเอง เนื่องจาก สำนักนายกรัฐมนตรี ได้มีมาตรการ ส่งเสริม ผู้ประกอบการ ที่ได้รับ การรับรอง คุณภาพ มาตรฐาน มอก.-ISO 9000 ให้ได้รับ สิทธิประโยชน์ ในการซื้อ หรือ จ้างของภาครัฐ (มีต่อ)

ในทำนอง เดียวกับ การซื้อ การจ้าง ทำพัสดุ ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 โดยขอให้ กำหนด เพิ่มเติม ในระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุว่า เพื่อต้องการ ที่จะเพิ่ม ความแน่นอน ในคุณภาพ ของงาน ก่อสร้าง และสอดคล้อง กับมติคณะรัฐมนตรี (มีต่อ)

เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2536 ที่กำหนด เวลาให้กับ ผู้รับจ้าง รับผิดชอบ ต่อความชำรุด บกพร่องของงาน ก่อสร้างเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งทาง คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุ (กวพ) ได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า การรับรอง ระบบคุณภาพ มาตรฐาน มอก.-ISO 9000 เป็นมาตรฐาน อุตสาหกรรม (มีต่อ)

ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ในการซื้อ หรือ จ้างทำพัสดุ ที่มี ประกาศกำหนด มอก.-ISO 9000 แล้วส่วนราชการ ก็ย่อมจะ กำหนดรายละเอียด ของพัสดุตาม มอก.-ISO 9000 ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 (2) หรือ (4) แล้วแต่กรณี ได้โดยอนุโลม