ภัยน้ำ / ชาติบุตร บุณยะจิตติ

By: ชาติบุตร บุณยะจิตติCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทรัพยากรธรรมชาติ | โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น้ำ | SCI-TECH In: โลกใบใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 115 (เมษายน 2542) หน้า 8 - 10Summary: จังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของไทย สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป ประมาณ 2 ใน 3 ของจังหวัด เป็นป่าภูเขา มีแม่น้ำหลัก 4 สาย ซึ่งมีความสำคัญต่อชีวิตเกษตร บริเวณชายฝั่งทะเลมีราษฎรอาศัยเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวนมะพร้าว(มีต่อ)Summary: สวนผลไม้และสวนปาล์ม แต่พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และมีลักษณะเป็นกรด และในบางพื้นที่มีปัญหาดินเค็มด้วย สำหรับแหล่งน้ำในฤดูฝน มีฝนตกบริมาณมาก และมักจะเกิดน้ำท่วมประจำ ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ต่ำในฤดูแล้ง(มีต่อ)Summary: จะขาดแคลนน้ำจืด และปัญหาน้ำเค็มสูงล้ำพื้นที่ ปัญหาน้ำเปรียวไหลออกจากป่าพรุ เนื่องจากปัญหาดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงหาวิธีจัดการแก้ไข ปัญหาน้ำ ทรงรียกวิชาจัดการนี้วา โครงการน้ำ 4 อย่าง 3 รส คือน้ำเปรียว น้ำเค็ม น้ำท่วม น้ำแล้ง ส่วน 3 รส คือ(มีต่อ)Summary: น้ำเปรียว รสเค็ม และขาดแคลนน้ำจือ ด้วยความลึกซึ้งในพระปรัชญาสามารถของพระองค์ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับเรื่องน้ำ เรื่องดิน การเป็นอยู่ของประชาชน แม้กระทั่งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ทรงวางแผนโครงการในลักษณะที่เชื่อมโยงกันหมด แม้กระทั่งระบบการควบคุมน้ำ(มีต่อ)Summary: มีการวางประตูระบายน้ำ วางคลอง และกิจกรรมต่างๆ นั้นจะสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ปัจจุบันนี้ความเดือนร้อนของราษฎรในทุกพื้นที่ บรรเทาความเดือดร้อนไปได้มาก และกรมชลประทานได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษา(มีต่อ)Summary: จัดทำแผนหลักโครงการต่างๆเพื่อวางแนวทางในการพัฒนาอย่างมีระบบ มีทิศทางที่ชัดเจนแน่นอน และยังเป็นการสนองแนวพระราชประสงค์ของพระองค์ท่าน เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระกิจคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหาแทนพระองค์ต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของไทย สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป ประมาณ 2 ใน 3 ของจังหวัด เป็นป่าภูเขา มีแม่น้ำหลัก 4 สาย ซึ่งมีความสำคัญต่อชีวิตเกษตร บริเวณชายฝั่งทะเลมีราษฎรอาศัยเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวนมะพร้าว(มีต่อ)

สวนผลไม้และสวนปาล์ม แต่พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ และมีลักษณะเป็นกรด และในบางพื้นที่มีปัญหาดินเค็มด้วย สำหรับแหล่งน้ำในฤดูฝน มีฝนตกบริมาณมาก และมักจะเกิดน้ำท่วมประจำ ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ต่ำในฤดูแล้ง(มีต่อ)

จะขาดแคลนน้ำจืด และปัญหาน้ำเค็มสูงล้ำพื้นที่ ปัญหาน้ำเปรียวไหลออกจากป่าพรุ เนื่องจากปัญหาดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงหาวิธีจัดการแก้ไข ปัญหาน้ำ ทรงรียกวิชาจัดการนี้วา โครงการน้ำ 4 อย่าง 3 รส คือน้ำเปรียว น้ำเค็ม น้ำท่วม น้ำแล้ง ส่วน 3 รส คือ(มีต่อ)

น้ำเปรียว รสเค็ม และขาดแคลนน้ำจือ ด้วยความลึกซึ้งในพระปรัชญาสามารถของพระองค์ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับเรื่องน้ำ เรื่องดิน การเป็นอยู่ของประชาชน แม้กระทั่งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้ทรงวางแผนโครงการในลักษณะที่เชื่อมโยงกันหมด แม้กระทั่งระบบการควบคุมน้ำ(มีต่อ)

มีการวางประตูระบายน้ำ วางคลอง และกิจกรรมต่างๆ นั้นจะสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ปัจจุบันนี้ความเดือนร้อนของราษฎรในทุกพื้นที่ บรรเทาความเดือดร้อนไปได้มาก และกรมชลประทานได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษา(มีต่อ)

จัดทำแผนหลักโครงการต่างๆเพื่อวางแนวทางในการพัฒนาอย่างมีระบบ มีทิศทางที่ชัดเจนแน่นอน และยังเป็นการสนองแนวพระราชประสงค์ของพระองค์ท่าน เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระกิจคิดหาแนวทางแก้ไขปัญหาแทนพระองค์ต่อไป