การพัฒนาระบบ MSTO เพิ่อส่งเสริมการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรม / ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

By: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2544) หน้า 103 - 107Summary: ท่ามกลางสถานการณ์การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศที่มีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ อุตสาหกรรมไทยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งส่งเสริมและผลักดันให้ระบบมาตรฐานต่างๆ ภายในประเทศเป็นที่ยอมรับในเวทีการค้าโลก เพื่อขจัดปัญหาและอุปสรรคที่เป็นข้อกีดกันทางการค้าให้น้อยลง จะใช้ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นตัวกำหนดมาตรฐานสินค้า เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) (มีต่อ)Summary: กับระบบ MSTO (M=Metrology, S=Standardization, T=Testing, Q=Quality Management) พบว่าในแง่ธุรกิจสิ่งสำคัญที่สุดคือความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้าซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถกำหนดมาตรฐานของสินค้าได้แต่ต้องมีการวิจัยและพัฒนาด้วย จากนั้นจึงเกิดเป็นนโยบาย จุดมุ่งหมาย กระบวนการผลิต จนกระทั่งถึงการตรวจวัดหรือการตรวจสอบ ซึ่งเป็นขั้นตอนพื้นฐานในการทำ ISO 9000 กระบวนการเหล่านี้จะรวมไปถึงบริการหลังการขายด้วยซึ่งจะต้องใช้ควบคู่กันไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ท่ามกลางสถานการณ์การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศที่มีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ อุตสาหกรรมไทยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งส่งเสริมและผลักดันให้ระบบมาตรฐานต่างๆ ภายในประเทศเป็นที่ยอมรับในเวทีการค้าโลก เพื่อขจัดปัญหาและอุปสรรคที่เป็นข้อกีดกันทางการค้าให้น้อยลง จะใช้ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นตัวกำหนดมาตรฐานสินค้า เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) (มีต่อ)

กับระบบ MSTO (M=Metrology, S=Standardization, T=Testing, Q=Quality Management) พบว่าในแง่ธุรกิจสิ่งสำคัญที่สุดคือความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้าซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถกำหนดมาตรฐานของสินค้าได้แต่ต้องมีการวิจัยและพัฒนาด้วย จากนั้นจึงเกิดเป็นนโยบาย จุดมุ่งหมาย กระบวนการผลิต จนกระทั่งถึงการตรวจวัดหรือการตรวจสอบ ซึ่งเป็นขั้นตอนพื้นฐานในการทำ ISO 9000 กระบวนการเหล่านี้จะรวมไปถึงบริการหลังการขายด้วยซึ่งจะต้องใช้ควบคู่กันไป