ธุรกิจชุมชน ยาแก้สังคมไทยยามยาก / เกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์

By: เกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เศรษฐกิจ | การพัฒนาชุมชน | SCI-TECH In: โลกสีเขียว ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2541) หน้า 38 - 47Summary: กว่า 40 ปี ของแนวทาง การพัฒนา เศรษฐกิจไทย ในแบบทุนนิยม ที่มุ่งให้ ความสำคัญ แต่กับ ภาคอุตสาหกรรม และการส่งออกนั้น ได้ละเลย การสร้างความ เข้มแข็งที่แท้จริง ให้แก่ท้องถิ่นชนบท ยิ่งไปกว่านั้น ยังเป็นการสร้าง ความร่ำรวย แบบกระจุก ความยากจน แบบกระจาย ช่องว่าง ระหว่างรายได้ ของคนกรุงเทพฯ กับคนชนบท ต่างกันถึง 18 เท่า ความมั่งคั่ง และการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ในภาพรวม (มีต่อ)Summary: จึงเป็นเพียงภาพลวง เหนือความเป็นจริง ที่ว่าชาวนาไทย ต้องซื้อข้าวกัน เกษตรกรมี หนี้สินท่วมหัว และคนชนบท เป็นจำนวนมาก ต้องอพยพ เข้าเมือง เพื่อขายแรงงาน ในยุค การบริหาร ประเทศาของรัฐบาล ชวน 1 เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายศุภชัย พานิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ด้านเศรษฐกิจ และนายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง ประกาศใช้ นโยบาย เปิดเสรี ด้านการเงิน ระหว่างประเทศ (มีต่อ)Summary: หรือวิเทศธนกิจ ซึ่งเป็น นโยบาย ที่เปิดโอกาสให้ สามารถเคลื่อนย้าย กู้ยืมเงิน เข้าออกประเทศ ได้อย่างเสรี ผลจากนโยบาย ทำให้ภาคเอกชน สามารถกู้ยืมเงิน จากต่างประเทศได้ ในอัตราดอกเบี้ย ต่ำกว่าภายในประเทศ เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้หนี้สิน ระหว่างประเทศของไทย ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นกว่า หนึ่งแสนล้านดอลล่าร์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 โดยเป็นหนี้สิน ของภาคเอกชน 71,7600 ล้านดอลล่าร์ และหนี้สิน ของภาครัฐ 23,903 ล้านดอลล่าร์ (มีต่อ)Summary: เงินกู้ส่วนใหญ่ ถูกนำไปลงทุน ในตลาดหุ้น ซื้อสินค้า ฟุ่มเฟือย จากต่างประเทศ รวมถึงการลงทุน และเก็งกำไร ในด้านอสังหาริมทรัพย์ รศ.ดร.ณรงค์ มองว่า ธุรกิจชุมชน มีลักษณะแตกต่าง จากธุรกิจทั่วไป ใน 3 ประการคือ ประการที่ 1 ความแตกต่าง ในเรื่องของกรรมสิทธิ์ ทั้งนี้ กรรมสิทธิ์ จะต้องเป็นของชุมชน โดยอาจมี ภาคธุรกิจทั่วไป หรือ องค์กรภายนอก เข้าร่วม แต่ชาวบ้าน ต้องสามารถ ควบคุม จัดการได้อย่างสมบูรณ์ (มีต่อ)Summary: ประการที่ 2 ความแตกต่าง ในเรื่องของเป้าหมาย ประการที่ 3 ความแตกต่าง ในเรื่องของรูปแบบ การจัดการ โดยรูปแบบของธุรกิจ ทั่วไปคือ บริษัท ส่วนชุมชนนั้น มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งที่จดทะเบียน และไม่จดทะเบียน การประกอบธุรกิจ ชุมชน เป็นการพยายาม ของชาวบ้าน ในอันที่จะเพิ่มศักยภาพ ทางการผลิตและ การตลาด เพื่อยกระดับรายได้ ให้เพิ่มสูงขึ้น ถึงกระนั้นสัดส่วน ของกำไรดังกล่าว (มีต่อ)Summary: จะเพียงพอต่อการ ตอบสนอง ความต้องการ ของบุคคลใน การแสหลัก ที่ลัทธิบริโภค นิยมกำลัง เชี่ยวกรากหรือไม่ ยังเป็นข้อปัญหา ที่พึงพิจารณา ควบคู่ไปกับ การสร้างสรรค์ ธุรกิจาชุมชนด้วย ทั้งนี้เพราะ หากอัตรา ความต้องการผู้บริโภค เพิ่มขึ้นรวดเร็ว กว่ากำไร หรือรายได้ของชุมชน ความรู้สึกไม่พอ หรือยากจนเชิง เปรียบเทียบ ย่อมเกิดขึ้นในใจ ของพวกเขาอยู่ตลอดเวลา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กว่า 40 ปี ของแนวทาง การพัฒนา เศรษฐกิจไทย ในแบบทุนนิยม ที่มุ่งให้ ความสำคัญ แต่กับ ภาคอุตสาหกรรม และการส่งออกนั้น ได้ละเลย การสร้างความ เข้มแข็งที่แท้จริง ให้แก่ท้องถิ่นชนบท ยิ่งไปกว่านั้น ยังเป็นการสร้าง ความร่ำรวย แบบกระจุก ความยากจน แบบกระจาย ช่องว่าง ระหว่างรายได้ ของคนกรุงเทพฯ กับคนชนบท ต่างกันถึง 18 เท่า ความมั่งคั่ง และการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ในภาพรวม (มีต่อ)

จึงเป็นเพียงภาพลวง เหนือความเป็นจริง ที่ว่าชาวนาไทย ต้องซื้อข้าวกัน เกษตรกรมี หนี้สินท่วมหัว และคนชนบท เป็นจำนวนมาก ต้องอพยพ เข้าเมือง เพื่อขายแรงงาน ในยุค การบริหาร ประเทศาของรัฐบาล ชวน 1 เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายศุภชัย พานิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ด้านเศรษฐกิจ และนายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง ประกาศใช้ นโยบาย เปิดเสรี ด้านการเงิน ระหว่างประเทศ (มีต่อ)

หรือวิเทศธนกิจ ซึ่งเป็น นโยบาย ที่เปิดโอกาสให้ สามารถเคลื่อนย้าย กู้ยืมเงิน เข้าออกประเทศ ได้อย่างเสรี ผลจากนโยบาย ทำให้ภาคเอกชน สามารถกู้ยืมเงิน จากต่างประเทศได้ ในอัตราดอกเบี้ย ต่ำกว่าภายในประเทศ เป็นสาเหตุสำคัญ ที่ทำให้หนี้สิน ระหว่างประเทศของไทย ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นกว่า หนึ่งแสนล้านดอลล่าร์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 โดยเป็นหนี้สิน ของภาคเอกชน 71,7600 ล้านดอลล่าร์ และหนี้สิน ของภาครัฐ 23,903 ล้านดอลล่าร์ (มีต่อ)

เงินกู้ส่วนใหญ่ ถูกนำไปลงทุน ในตลาดหุ้น ซื้อสินค้า ฟุ่มเฟือย จากต่างประเทศ รวมถึงการลงทุน และเก็งกำไร ในด้านอสังหาริมทรัพย์ รศ.ดร.ณรงค์ มองว่า ธุรกิจชุมชน มีลักษณะแตกต่าง จากธุรกิจทั่วไป ใน 3 ประการคือ ประการที่ 1 ความแตกต่าง ในเรื่องของกรรมสิทธิ์ ทั้งนี้ กรรมสิทธิ์ จะต้องเป็นของชุมชน โดยอาจมี ภาคธุรกิจทั่วไป หรือ องค์กรภายนอก เข้าร่วม แต่ชาวบ้าน ต้องสามารถ ควบคุม จัดการได้อย่างสมบูรณ์ (มีต่อ)

ประการที่ 2 ความแตกต่าง ในเรื่องของเป้าหมาย ประการที่ 3 ความแตกต่าง ในเรื่องของรูปแบบ การจัดการ โดยรูปแบบของธุรกิจ ทั่วไปคือ บริษัท ส่วนชุมชนนั้น มีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งที่จดทะเบียน และไม่จดทะเบียน การประกอบธุรกิจ ชุมชน เป็นการพยายาม ของชาวบ้าน ในอันที่จะเพิ่มศักยภาพ ทางการผลิตและ การตลาด เพื่อยกระดับรายได้ ให้เพิ่มสูงขึ้น ถึงกระนั้นสัดส่วน ของกำไรดังกล่าว (มีต่อ)

จะเพียงพอต่อการ ตอบสนอง ความต้องการ ของบุคคลใน การแสหลัก ที่ลัทธิบริโภค นิยมกำลัง เชี่ยวกรากหรือไม่ ยังเป็นข้อปัญหา ที่พึงพิจารณา ควบคู่ไปกับ การสร้างสรรค์ ธุรกิจาชุมชนด้วย ทั้งนี้เพราะ หากอัตรา ความต้องการผู้บริโภค เพิ่มขึ้นรวดเร็ว กว่ากำไร หรือรายได้ของชุมชน ความรู้สึกไม่พอ หรือยากจนเชิง เปรียบเทียบ ย่อมเกิดขึ้นในใจ ของพวกเขาอยู่ตลอดเวลา