พายุสุริยะ : มหันตภัยปี 2000 / เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล

By: เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พายุสุริยะ | SCI-TECH In: โลกสีเขียว ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2542) หน้า 16 - 17Summary: สำหรับพายุสุริยะ เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่มีสาระทาางวิทยาศาสตร์ แต่ไม่ทำให้โลกแตก เป็นปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้นทุกรอบ 11 ปี มีสาเหตุจากจุดดับบนดวงอาทิตย์ หรือที่เรียกว่า SUNSPOTS ซึ่งเป็นที่อุณหภูมิต่ำกว่าพื้นที่ใกล้เคียง คือ ประมาณ 4,000 องศาเซลเซียส (มีต่อ)Summary: เกิดระเบิดขึ้น ทำให้สนามแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์ชนกัน และทำให้พลาสมาซึ่งเป็นแก๊สร้อนที่มีอุณหภูมิเป็นล้านองศา ที่อยู่บริเวณโคโรน่าเกิดความเปลี่ยนแปลงและพุ่งออกมาถึงโลก ความรุนแรงของพายุสุริยะจะขึ้นอยู่กับจุดดับบนดวงอาทิตย์ว่ามีมากน้อยเพียงใด (มีต่อ)Summary: ผลกระทบของพายุสุริยะซึ่งจะมีต่อโลก นอกจากจะทำให้สนามแม่เหล็กของโลกถูกรบกวนแล้ว โลกจะได้รับพลังงานในรูปรังสีแกมม่า รังสีเอ็กซ์มากขึ้น นอกจากนี้พลังงานในรูปอะตอมหรือประจุไฟฟ้าที่จะเข้ามาในโลกมากขึ้นอาจส่งผลให้บรรยากาศ ของโลกร้อนขึ้น และทำให้ชั้นบรรยากาศ(มีต่อ)Summary: พายุสุริยะที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม ปี 1989 ทำให้เกิดไฟฟ้าดับที่เมืองคิวเบกในประเทศแคนาดา หรือเมื่อเดือนมกราคม ปี 1997 ทำให้ดาวเทียมของ เอทีแอนด์ทีดวงหนึ่งเสียหาย เพราะกระบวนการทางแม่เหล็กไฟฟ้า(มีต่อ)Summary: ที่เข้าไปรบกวนดาวเทียม สำหรับผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์นั้นเนื่องจากระบบร่างกายของมนุษย์มีการพัฒนาตัวเองข้างสูง จึงไม่น่ามีปัญหาแต่อย่างใด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สำหรับพายุสุริยะ เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่มีสาระทาางวิทยาศาสตร์ แต่ไม่ทำให้โลกแตก เป็นปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้นทุกรอบ 11 ปี มีสาเหตุจากจุดดับบนดวงอาทิตย์ หรือที่เรียกว่า SUNSPOTS ซึ่งเป็นที่อุณหภูมิต่ำกว่าพื้นที่ใกล้เคียง คือ ประมาณ 4,000 องศาเซลเซียส (มีต่อ)

เกิดระเบิดขึ้น ทำให้สนามแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์ชนกัน และทำให้พลาสมาซึ่งเป็นแก๊สร้อนที่มีอุณหภูมิเป็นล้านองศา ที่อยู่บริเวณโคโรน่าเกิดความเปลี่ยนแปลงและพุ่งออกมาถึงโลก ความรุนแรงของพายุสุริยะจะขึ้นอยู่กับจุดดับบนดวงอาทิตย์ว่ามีมากน้อยเพียงใด (มีต่อ)

ผลกระทบของพายุสุริยะซึ่งจะมีต่อโลก นอกจากจะทำให้สนามแม่เหล็กของโลกถูกรบกวนแล้ว โลกจะได้รับพลังงานในรูปรังสีแกมม่า รังสีเอ็กซ์มากขึ้น นอกจากนี้พลังงานในรูปอะตอมหรือประจุไฟฟ้าที่จะเข้ามาในโลกมากขึ้นอาจส่งผลให้บรรยากาศ ของโลกร้อนขึ้น และทำให้ชั้นบรรยากาศ(มีต่อ)

พายุสุริยะที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม ปี 1989 ทำให้เกิดไฟฟ้าดับที่เมืองคิวเบกในประเทศแคนาดา หรือเมื่อเดือนมกราคม ปี 1997 ทำให้ดาวเทียมของ เอทีแอนด์ทีดวงหนึ่งเสียหาย เพราะกระบวนการทางแม่เหล็กไฟฟ้า(มีต่อ)

ที่เข้าไปรบกวนดาวเทียม สำหรับผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์นั้นเนื่องจากระบบร่างกายของมนุษย์มีการพัฒนาตัวเองข้างสูง จึงไม่น่ามีปัญหาแต่อย่างใด