ภาวะอุตสาหกรรมและการค้าระหว่างประเทศ / ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์

By: ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การค้าระหว่างประเทศ | ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ -- 2543 In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2544) หน้า 43-47Summary: ภาวะอุตสาหกรรมและการค้าระหว่างประเทศ โดยรวมในปี พ.ศ. 2543 อยู่ในช่วงฟื้นตัวอย่างช้าๆ โดยการลงทุนการผลิต การใช้กำลังผลิต การส่งออก การนำเข้า และการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม ต่างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน ปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ของภาคอุตสาหกรรมได้มีแนวโน้มลดลงอย่างช้าๆ อันเป็นผลจากความก้าวหน้าของการฟื้นฟูและการปรับโครงสร้างหนี้ ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศได้อ่อนตัวลงเล็กน้อย อันเป็นมาจาก ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความมั่นใจลดลงของผู้บริโภค เนื่องมาจากสื่อมวลชนเสนอข่าวทางลบ (มีต่อ)Summary: อุตสาหกรรมหมวดที่ฟื้นตัวค่อนข้างรวดเร็ว และมีการลงทุนค่อนข้างมากเมื่อเพิ่มกำลังผลิต คือ หมวดปิโตรเคมี และหมวดอิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจ้างงานในระบบประกันสังคมของภาคอุตสาหกรรม การจ้างงานยังอยู่ในระดับต่ำกว่าช่วงเริ่มเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อเดือนกรกฎาคม 2540 แต่คาดว่าตัวเลขการจ้างงานจะเพิ่มขึ้น จนเพิ่มกว่าระดับดังกล่าวภายในสิ้นปี 2542 (มีต่อ)Summary: การค้าระหว่างประเทศ ของประเทศไทยเพิ่มขึ้นมาก ทั้งการนำเข้าและการส่งออก อันเป็นผลจากการฟื้นตัวทั้งเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศไทย การส่งออกมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราสูง สำหรับสินค้าที่ส่งออกมาก 5 อันดับแรกคือ กลุ่มคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ การนำเข้าเพิ่มขึ้นมาก ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการนำเข้าเพิ่มขึ้นสูงในทุกหมวด โดยเฉพาะหมวดส่วนประกอบ อุปกรณ์โครงรถ และตัวถัง มีมูลค่าเพิ่มขึ้นสูง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ภาวะอุตสาหกรรมและการค้าระหว่างประเทศ โดยรวมในปี พ.ศ. 2543 อยู่ในช่วงฟื้นตัวอย่างช้าๆ โดยการลงทุนการผลิต การใช้กำลังผลิต การส่งออก การนำเข้า และการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม ต่างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน ปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ของภาคอุตสาหกรรมได้มีแนวโน้มลดลงอย่างช้าๆ อันเป็นผลจากความก้าวหน้าของการฟื้นฟูและการปรับโครงสร้างหนี้ ภาคอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศได้อ่อนตัวลงเล็กน้อย อันเป็นมาจาก ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความมั่นใจลดลงของผู้บริโภค เนื่องมาจากสื่อมวลชนเสนอข่าวทางลบ (มีต่อ)

อุตสาหกรรมหมวดที่ฟื้นตัวค่อนข้างรวดเร็ว และมีการลงทุนค่อนข้างมากเมื่อเพิ่มกำลังผลิต คือ หมวดปิโตรเคมี และหมวดอิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจ้างงานในระบบประกันสังคมของภาคอุตสาหกรรม การจ้างงานยังอยู่ในระดับต่ำกว่าช่วงเริ่มเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อเดือนกรกฎาคม 2540 แต่คาดว่าตัวเลขการจ้างงานจะเพิ่มขึ้น จนเพิ่มกว่าระดับดังกล่าวภายในสิ้นปี 2542 (มีต่อ)

การค้าระหว่างประเทศ ของประเทศไทยเพิ่มขึ้นมาก ทั้งการนำเข้าและการส่งออก อันเป็นผลจากการฟื้นตัวทั้งเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศไทย การส่งออกมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราสูง สำหรับสินค้าที่ส่งออกมาก 5 อันดับแรกคือ กลุ่มคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ การนำเข้าเพิ่มขึ้นมาก ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการนำเข้าเพิ่มขึ้นสูงในทุกหมวด โดยเฉพาะหมวดส่วนประกอบ อุปกรณ์โครงรถ และตัวถัง มีมูลค่าเพิ่มขึ้นสูง