ความคืบหน้าการรับซื้อไฟฟ้าโครงการน้ำเทิน 2 ใน สปป.ลาว

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | นโยบายพลังงาน | พลังงานไฟฟ้า In: นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 49 (กรกฎาคม-กันยายน 2543) หน้า 51 - 53Summary: เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งพลังงานภายในประเทศจำนวนจำกัด การส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาแหล่งพลังงานต่างๆ ซึ่งได้แก่ การพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติร่วมกับมาเลเซีย และการนำเข้าก๊าซธรรมชาติจากสหภาพพม่า ตลอดจนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) สาธารณรัฐประชาชนจีนและสหภาพพม่า ถือเป็นนโยบายด้านการจัดหาพลังงาน (มีต่อ)Summary: ให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศที่มีความสำคัญประการหนึ่ง โครงการความร่วมมือด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย และ สปป.ลาว จะก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันต่อทั้ง 2 ฝ่าย คือประเทศไทย จะมีพลังงานไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอในขณะที่ สปป.ลาว จะมีรายได้จากการซื้อขายไฟฟ้า และเพื่อให้บรรลุถึงผลประโยชน์สูงสุดร่วมกัน กล่าวคือ ประเทศไทยสามารถจัดหาพลังงานให้แก่ผู้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ (มีต่อ)Summary: และในราคาที่เหมาะสมและยังเป็นการใช้พลังงานน้ำ ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานสะอาดแทนการใช้ทรัพยากรอื่นในการผลิตไฟฟ้า ขณะที่ในส่วนของ สปป.ลาว จะมีรายได้ในรูปของเงินตราต่างประเทศจากการขายไฟฟ้า ซึ่งนอกจากจะนำรายได้ดังกล่าวมาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ประเทศแล้ว ยังสามารถช่วยลดการขาดดุลการค้ากับไทย และเป็นการเพิ่มเสถียรภาพให้กับค่าเงินกีบอีกด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งพลังงานภายในประเทศจำนวนจำกัด การส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาแหล่งพลังงานต่างๆ ซึ่งได้แก่ การพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติร่วมกับมาเลเซีย และการนำเข้าก๊าซธรรมชาติจากสหภาพพม่า ตลอดจนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) สาธารณรัฐประชาชนจีนและสหภาพพม่า ถือเป็นนโยบายด้านการจัดหาพลังงาน (มีต่อ)

ให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศที่มีความสำคัญประการหนึ่ง โครงการความร่วมมือด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย และ สปป.ลาว จะก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันต่อทั้ง 2 ฝ่าย คือประเทศไทย จะมีพลังงานไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอในขณะที่ สปป.ลาว จะมีรายได้จากการซื้อขายไฟฟ้า และเพื่อให้บรรลุถึงผลประโยชน์สูงสุดร่วมกัน กล่าวคือ ประเทศไทยสามารถจัดหาพลังงานให้แก่ผู้ใช้ในประเทศได้อย่างเพียงพอ (มีต่อ)

และในราคาที่เหมาะสมและยังเป็นการใช้พลังงานน้ำ ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานสะอาดแทนการใช้ทรัพยากรอื่นในการผลิตไฟฟ้า ขณะที่ในส่วนของ สปป.ลาว จะมีรายได้ในรูปของเงินตราต่างประเทศจากการขายไฟฟ้า ซึ่งนอกจากจะนำรายได้ดังกล่าวมาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ประเทศแล้ว ยังสามารถช่วยลดการขาดดุลการค้ากับไทย และเป็นการเพิ่มเสถียรภาพให้กับค่าเงินกีบอีกด้วย