เส้นใยนำแสงชนิดพลาสติก / ปรีชา ยุพาพิน, อานุภาพ คุณากรบดินทร์

By: ปรีชา ยุพาพินContributor(s): อานุภาพ คุณากรบดินทร์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เส้นใยนำแสง -- พลาสติก | SCI-TECH In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 26 ฉบับที่ 145 (มิถุนายน - กรกฎาคม 2542) หน้า 82 - 89Summary: เส้นใยนำแสงที่ทำจากวัสดุพลาสติก ได้ถูกพัฒนาเหมือนกับเส้นใยนำแสงที่ทำมาจากแก้ว POF มีข้อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่นได้แก่ การที่มีผลกระทบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความทนทาน ความสามารถในการส่งข้อมูลจำนวนมากๆ สามารถใช้ในช่วงแสงที่เห็นด้วยตา และคุณสมบัติในการโด้ปด้วยสีต่างๆ โดยไม่ลดความสามารถของความโปร่งใส(มีต่อ)Summary: อุปสรรคใหญ่ในการนำวัสดุประเถทพลาสติดมาใช้คือ ความโปร่งใสของวัสดุ แต่ก็ได้มีการทำวิจัย เพื่อสนับสนุนการใช้ POF ได้แก่ลดการลดทอน การเพิ่มความสามารถในการต้านอุณหภูมิ และอายุการใช้งาน ประสิทธิภาพ(มีต่อ)Summary: ของ POF ยังไม่ได้พัฒนาได้อย่างสมบรูณ์ แต่ก็มีการนำ POF ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ ได้แก่ งานส่องสว่างและตบแต่ง อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ การแสดงภาพและการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายระยะใกล้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เส้นใยนำแสงที่ทำจากวัสดุพลาสติก ได้ถูกพัฒนาเหมือนกับเส้นใยนำแสงที่ทำมาจากแก้ว POF มีข้อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่นได้แก่ การที่มีผลกระทบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความทนทาน ความสามารถในการส่งข้อมูลจำนวนมากๆ สามารถใช้ในช่วงแสงที่เห็นด้วยตา และคุณสมบัติในการโด้ปด้วยสีต่างๆ โดยไม่ลดความสามารถของความโปร่งใส(มีต่อ)

อุปสรรคใหญ่ในการนำวัสดุประเถทพลาสติดมาใช้คือ ความโปร่งใสของวัสดุ แต่ก็ได้มีการทำวิจัย เพื่อสนับสนุนการใช้ POF ได้แก่ลดการลดทอน การเพิ่มความสามารถในการต้านอุณหภูมิ และอายุการใช้งาน ประสิทธิภาพ(มีต่อ)

ของ POF ยังไม่ได้พัฒนาได้อย่างสมบรูณ์ แต่ก็มีการนำ POF ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ ได้แก่ งานส่องสว่างและตบแต่ง อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ การแสดงภาพและการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายระยะใกล้