PPP ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบตามปริมาณและวิธีการบริโภค / อิทธิฤทธิ์ ประคำทอง

By: อิทธิฤทธิ์ ประคำทองCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สิ่งแวดล้อม | มลพิษ | SCI-TECH In: โลกสีเขียว ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2541) หน้า 18 - 33Summary: หลักการ "ผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้รู้ผิดชอบ" หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่า PPP เริ่มต้นใช้กัน ในช่วงทศวรรษ 1970 โดยกลุ่ม ประเทศองค์การ ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ และ การพัฒนา (DE CD) ซึ่งมีสมาชิก ส่วนใหญ่ อยู่ในยุโรป หลักการสำคัญ คือ ผู้ทำให้เกิด ความเสียหาย ต่อสิ่งแวดล้อม หรือผู้ก่อมลพิษ จะต้องรับผิดชอบ ความเสียหาย ที่ครอบคลุม ถึงภาระค่าใช้จ่าย ในการบำบัด และกำจัดมลพิษ (มีต่อ)Summary: ด้วยหลักการ ผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้รับผิดชอบ ไว้ในทาง การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการนำ เครื่องมือต่างๆ ทั้งเครื่องมือ ด้านเทคโนโลยี และเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร มาใช้ในการ จัดการสิ่งแวดล้อม และสรุปมาว่าให้ ประเทศสมาชิก นำเอาหลักการ PPP ไปใช้ ซึ่งทุกประเทศ รวมทั้งไทย ต่างเห็นพ้องด้วยโดย ประเทศไทยได้นำ เอาหลักการ PPP มาเขียนไว้ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (มีต่อ)Summary: โดยเน้น ปรับปรุงกลไก การพัฒนา และบริหารจัดการ มลพิษทางน้ำ ทางอากาศ กากของเสีย และ สารอันตราย ให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักการ "ผู้ก่อปัญหามลพิษ จะต้องเป็น ผู้รับภาระ ในการบำบัด และกำจัด มลพิษ นอกจากนั้น ยังมีการกำหนด เป้าหมาย และแนวทาง การปฏิบัติ เกี่ยวกับการพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เอาไว้อย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น (มีต่อ)Summary: และได้นำ หลักการ PPP ไปกำหนด ไว้เป็นสาระสำคัญ ของกฎหมาย ที่ออกมาในปี 2535 ถึง 5 ฉบับคือ พระราชบัญญัติ ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ปี 2535 พระราชบัญญัติ สาธารณสุข พระราชบัญญัติ โรงงาน พระราชบัญญัติ วัตถุอันตราย พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาด และความเป็น ระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

หลักการ "ผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้รู้ผิดชอบ" หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่า PPP เริ่มต้นใช้กัน ในช่วงทศวรรษ 1970 โดยกลุ่ม ประเทศองค์การ ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ และ การพัฒนา (DE CD) ซึ่งมีสมาชิก ส่วนใหญ่ อยู่ในยุโรป หลักการสำคัญ คือ ผู้ทำให้เกิด ความเสียหาย ต่อสิ่งแวดล้อม หรือผู้ก่อมลพิษ จะต้องรับผิดชอบ ความเสียหาย ที่ครอบคลุม ถึงภาระค่าใช้จ่าย ในการบำบัด และกำจัดมลพิษ (มีต่อ)

ด้วยหลักการ ผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้รับผิดชอบ ไว้ในทาง การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการนำ เครื่องมือต่างๆ ทั้งเครื่องมือ ด้านเทคโนโลยี และเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร มาใช้ในการ จัดการสิ่งแวดล้อม และสรุปมาว่าให้ ประเทศสมาชิก นำเอาหลักการ PPP ไปใช้ ซึ่งทุกประเทศ รวมทั้งไทย ต่างเห็นพ้องด้วยโดย ประเทศไทยได้นำ เอาหลักการ PPP มาเขียนไว้ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (มีต่อ)

โดยเน้น ปรับปรุงกลไก การพัฒนา และบริหารจัดการ มลพิษทางน้ำ ทางอากาศ กากของเสีย และ สารอันตราย ให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักการ "ผู้ก่อปัญหามลพิษ จะต้องเป็น ผู้รับภาระ ในการบำบัด และกำจัด มลพิษ นอกจากนั้น ยังมีการกำหนด เป้าหมาย และแนวทาง การปฏิบัติ เกี่ยวกับการพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เอาไว้อย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น (มีต่อ)

และได้นำ หลักการ PPP ไปกำหนด ไว้เป็นสาระสำคัญ ของกฎหมาย ที่ออกมาในปี 2535 ถึง 5 ฉบับคือ พระราชบัญญัติ ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ปี 2535 พระราชบัญญัติ สาธารณสุข พระราชบัญญัติ โรงงาน พระราชบัญญัติ วัตถุอันตราย พระราชบัญญัติ รักษาความสะอาด และความเป็น ระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง