มลพิษปี 2000 ทั่วโลก รุนแรง-อันตรายสูง / จรรยา เงินมูล

By: จรรยา เงินมูลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | มลพิษ | มลพิษทางสภาวะแวดล้อม In: โลกพลังงาน ปีที่ 3 ฉบับที่ 8 (กรกฎาคม-กันยายน 2543) หน้า 61 - 64Summary: นักสังคมศาสตร์คนหนึ่ง ในมหาวิทยาลัยลอนดอน ของอังกฤษ เผยมลภาวะ กำลังทำให้ ประชากรหลายล้านคนทั่วโลก ฉลาดน้อยลง เนื่องจาก ในมลภาวะ มีสารตะกั่ว กัมมันตรังสี และสารพิษ ที่ใช้ใน อุปกรณ์ไฟฟ้า ปัญหายิ่งมีมากขึ้น เมื่อโลกกำลังสูญเสีย สารที่มีประโยชน์ เช่น เหล็ก และ ไอโอดีน เพราะการเสื่อมสภาพของดิน (มีต่อ)Summary: และพืชพันธุ์ธัญญาหาร มีคุณภาพลดลง สถานการณ์ มลพิษ ในไทย ด้านมลพิษ ในปีที่ผ่านมา มีหลายกรณี ทั้งที่ ทำให้ สูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน อีกทั้งทำให้ ผู้คนหวาดหวั่น ซึ่งจะเป็นเหตุ ให้มีการใช้ สารเคมี ควบคุม รัดกุมขึ้น มลพิษทางอากาศ อาจมี ความรุนแรง ของสภาพอากาศ ลดน้อยลง ในการควบคุม ระบายสารมลพิษ (มีต่อ)Summary: จากแหล่งกำเนิดต่างๆ เช่น ยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม และสถานประกอบการต่างๆ มลพิษทางน้ำ จากการสำรวจ คุณภาพน้ำ ในแหล่งน้ำจืด ที่สำคัญของประเทศ คือ แม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่น้ำแม่กลอง มีคุณภาพน้ำ ในระดับ เสื่อมโทรม ดังนั้น การป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำเสีย จากชุมชน จึงเป็นเรื่องเร่งด่วน (มีต่อ)Summary: มลพิษทางดิน เป็นหนึ่งปัญหามลพิษ ที่มีความเคลื่อนไหวน้อย ในปีที่ผ่านมา แต่ภาพที่ถูกนำมา แก้ไขบ่อยคือ ขยะ ซึ่งจะส่งผลกระทบ กับดินได้ ซึ่งปริมาณ ขยะมูลฝอย ที่เกิดจากชุมชน ทั่วประเทศ การกำจัดขยะ ยังเป็นปัญหา ในเรื่องการบริหาร เก็บรวบรวม ขยะมูลฝอย ทั้งจากบ้านเรือน แหล่ง ชุมชน และแหล่งสาธารณะ ขาดประสิทธิภาพ ในการรวบรวมSummary: อันเนื่องมาจากข้อจำกัด ในการเก็บค่าบริการ มลพิษเสียง เรื่องของเสียงดังเกินเหตุ เป็นอีกด้านหนึ่งของมลพิษ ที่รบกวนประชาชนที่อาศัยในแหล่งจราจร และการก่อสร้าง นอกจากนี้ปัญหาเสียงรบกวน จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการขยายตัวของการจราจร ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

นักสังคมศาสตร์คนหนึ่ง ในมหาวิทยาลัยลอนดอน ของอังกฤษ เผยมลภาวะ กำลังทำให้ ประชากรหลายล้านคนทั่วโลก ฉลาดน้อยลง เนื่องจาก ในมลภาวะ มีสารตะกั่ว กัมมันตรังสี และสารพิษ ที่ใช้ใน อุปกรณ์ไฟฟ้า ปัญหายิ่งมีมากขึ้น เมื่อโลกกำลังสูญเสีย สารที่มีประโยชน์ เช่น เหล็ก และ ไอโอดีน เพราะการเสื่อมสภาพของดิน (มีต่อ)

และพืชพันธุ์ธัญญาหาร มีคุณภาพลดลง สถานการณ์ มลพิษ ในไทย ด้านมลพิษ ในปีที่ผ่านมา มีหลายกรณี ทั้งที่ ทำให้ สูญเสียชีวิต และทรัพย์สิน อีกทั้งทำให้ ผู้คนหวาดหวั่น ซึ่งจะเป็นเหตุ ให้มีการใช้ สารเคมี ควบคุม รัดกุมขึ้น มลพิษทางอากาศ อาจมี ความรุนแรง ของสภาพอากาศ ลดน้อยลง ในการควบคุม ระบายสารมลพิษ (มีต่อ)

จากแหล่งกำเนิดต่างๆ เช่น ยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม และสถานประกอบการต่างๆ มลพิษทางน้ำ จากการสำรวจ คุณภาพน้ำ ในแหล่งน้ำจืด ที่สำคัญของประเทศ คือ แม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง และแม่น้ำแม่กลอง มีคุณภาพน้ำ ในระดับ เสื่อมโทรม ดังนั้น การป้องกัน และแก้ไขปัญหาน้ำเสีย จากชุมชน จึงเป็นเรื่องเร่งด่วน (มีต่อ)

มลพิษทางดิน เป็นหนึ่งปัญหามลพิษ ที่มีความเคลื่อนไหวน้อย ในปีที่ผ่านมา แต่ภาพที่ถูกนำมา แก้ไขบ่อยคือ ขยะ ซึ่งจะส่งผลกระทบ กับดินได้ ซึ่งปริมาณ ขยะมูลฝอย ที่เกิดจากชุมชน ทั่วประเทศ การกำจัดขยะ ยังเป็นปัญหา ในเรื่องการบริหาร เก็บรวบรวม ขยะมูลฝอย ทั้งจากบ้านเรือน แหล่ง ชุมชน และแหล่งสาธารณะ ขาดประสิทธิภาพ ในการรวบรวม

อันเนื่องมาจากข้อจำกัด ในการเก็บค่าบริการ มลพิษเสียง เรื่องของเสียงดังเกินเหตุ เป็นอีกด้านหนึ่งของมลพิษ ที่รบกวนประชาชนที่อาศัยในแหล่งจราจร และการก่อสร้าง นอกจากนี้ปัญหาเสียงรบกวน จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการขยายตัวของการจราจร ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ