การแก้ไขปัญหา เพลี้ยไฟฝ้าย ทำลายกล้วยไม้เพื่อการส่งออกไปสหภาพยุโรป / ปิยรัตน์ เขียนมีสุข, ศิริณี พูนไชยศรี

By: ปิยรัตน์ เขียนมีสุขContributor(s): ศิริณี พูนไชยศรีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): กล้วยไม้ -- ศัตรูพืช | เพลี้ยไฟ -- ศัตรูพืช | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2542 ) หน้า 49 - 52Summary: การส่งออก ดอกกล้วยไม้ ไปยังสหภาพยุโรป เริ่มประสบปัญหา โดยประเทศฝรั่งเศส ได้เข้มงวด ตรวจดอกกล้วยไม้ จากปรเทศไทย หากพบเพลี้ยไฟฝ้าย ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญ ทางกักกัน พืช ของสหภาพยุโรป จะทำการยึดไว้ แล้วเผาทำลาย ปัญหาดังกล่าว เริ่มทวีความรุนแรง พร้อมๆกับประเทศอื่นๆ (มีต่อ)Summary: ในสหภาพยุโรป เริ่มเข้มงวด ในการตรวจ ดอกกล้วยไม้ จากประเทศไทย มากขึ้น เพลี้ยไฟฝ้าย เป็นแมลงขนาดเล็ก มีลำตัวยาวประมาณ 0.8-1.0 มิลลิเมตร รูปร่างเรียวยาว ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย มีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวอ่อนไม่มีปีก จัดอยู่ในอันดับ Thysanoptera วงศ์ Thripidae (มีต่อ)Summary: จากการศึกษา ด้านชีววิทยา พบว่าการเจริญเติบโต ของเพลี้ยไฟชนิดนี้ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ คือ มีวงจรชีวิตสั้นเพียง 14 วัน ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และนานถึง 45 วัน ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส แต่ไม่สามารถ เจริญเติบโตได้ ในอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ดังนั้น สภาพภูมิอากาศ ในประเทศไทย จึงเหมาะสมต่อ การแพร่ระบาด (มีต่อ)Summary: และขยายพันธุ์ของ เพลี้ยไฟฝ้าย และมักพบระบาดเสมอๆ ในฤดูร้อน การป้องกันกำจัด คือ 1. ก่อนการเก็บเกี่ยว ใช้สารฆ่าแมลง อิมิดาคลอพริด, อะเซทตามิพริด, อะบาเมคติน, ฟิโพรนิล และไซเปอร์เมทริน โดยใช้สารฆ่าแมลง สลับกลุ่มกัน โดยแต่ละกลุ่ม พ่นติดต่อกันไม่ควรเกิน 3ครั้ง เพื่อป้องกันการสร้าง (มีต่อ)Summary: ความต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลง ของเพลี้ยไฟด้วย ช่วงพ่น 5-7วัน อัตราการพ่นสาร 200ลิตร/ไร่ 2. การป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ หลังการเก็บเกี่ยว มีความสำคัญมาก ทั้งนี้จะต้องไม่ให้ เพลี้ยไฟที่มีชีวิต ติดไปกับดอกกล้วยไม้ ซึ่งมาตรการหนึ่ง ที่ทางสหภาพยุโรป ได้กำหนด คือ ดอกกล้วยไม้ ที่จะส่งออกนั้น จะต้องผ่านการรมด้วย เมทธิลโปรโมค์ เพื่อป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การส่งออก ดอกกล้วยไม้ ไปยังสหภาพยุโรป เริ่มประสบปัญหา โดยประเทศฝรั่งเศส ได้เข้มงวด ตรวจดอกกล้วยไม้ จากปรเทศไทย หากพบเพลี้ยไฟฝ้าย ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญ ทางกักกัน พืช ของสหภาพยุโรป จะทำการยึดไว้ แล้วเผาทำลาย ปัญหาดังกล่าว เริ่มทวีความรุนแรง พร้อมๆกับประเทศอื่นๆ (มีต่อ)

ในสหภาพยุโรป เริ่มเข้มงวด ในการตรวจ ดอกกล้วยไม้ จากประเทศไทย มากขึ้น เพลี้ยไฟฝ้าย เป็นแมลงขนาดเล็ก มีลำตัวยาวประมาณ 0.8-1.0 มิลลิเมตร รูปร่างเรียวยาว ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย มีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวอ่อนไม่มีปีก จัดอยู่ในอันดับ Thysanoptera วงศ์ Thripidae (มีต่อ)

จากการศึกษา ด้านชีววิทยา พบว่าการเจริญเติบโต ของเพลี้ยไฟชนิดนี้ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ คือ มีวงจรชีวิตสั้นเพียง 14 วัน ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และนานถึง 45 วัน ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส แต่ไม่สามารถ เจริญเติบโตได้ ในอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ดังนั้น สภาพภูมิอากาศ ในประเทศไทย จึงเหมาะสมต่อ การแพร่ระบาด (มีต่อ)

และขยายพันธุ์ของ เพลี้ยไฟฝ้าย และมักพบระบาดเสมอๆ ในฤดูร้อน การป้องกันกำจัด คือ 1. ก่อนการเก็บเกี่ยว ใช้สารฆ่าแมลง อิมิดาคลอพริด, อะเซทตามิพริด, อะบาเมคติน, ฟิโพรนิล และไซเปอร์เมทริน โดยใช้สารฆ่าแมลง สลับกลุ่มกัน โดยแต่ละกลุ่ม พ่นติดต่อกันไม่ควรเกิน 3ครั้ง เพื่อป้องกันการสร้าง (มีต่อ)

ความต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลง ของเพลี้ยไฟด้วย ช่วงพ่น 5-7วัน อัตราการพ่นสาร 200ลิตร/ไร่ 2. การป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ หลังการเก็บเกี่ยว มีความสำคัญมาก ทั้งนี้จะต้องไม่ให้ เพลี้ยไฟที่มีชีวิต ติดไปกับดอกกล้วยไม้ ซึ่งมาตรการหนึ่ง ที่ทางสหภาพยุโรป ได้กำหนด คือ ดอกกล้วยไม้ ที่จะส่งออกนั้น จะต้องผ่านการรมด้วย เมทธิลโปรโมค์ เพื่อป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ