การบริหารแมลงศัตรูข้าวโพดหวานในแหล่งปลูกอำเภอดำเนินสะดวก / วัชรา ชุณหวงศ์, อรนุช กองกาญจนะ

By: วัชรา ชุณหวงศ์Contributor(s): อรชุน กองกาญจนะCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ข้าวโพดหวาน -- ศัตรูพืช | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2542) หน้า 92 - 107Summary: การนำแมลงหางหนีบ Proreus simulans Stallen [Dermaptera : Chelisochidae] ซึ่งเป็นแมลง ศัตรูธรรมชาติ ประเภทตัวห้ำที่สำคัญ ของแมลงศัตรูข้าวโพด ที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (มีต่อ)Summary: เข้าไปปล่อย ในสภาพการปลูกข้าวโพด แบบร่องสวน ร่วมกับการใชั สารเคมี ตามชนิด แมลงศัตรูพืช เมื่อถึงระดับ เศรษฐกิจ เพื่อลดประชากร หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด Ostrinia furnacalis (Guenee) โดยเปรียบเทียบ กับวิธีการ (มีต่อ)Summary: ของเกษตรกร วิธีการปล่อยหางหนีบ โดยไม่พ่น สารฆ่าแมลง และวิธีการไม่พ่น สารฆ่าแมลง ทำการทดลอง ระหว่างเดือน ตุลาคม 2538 - เมษายน 2540 ที่อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี จากการทดลอง ปี 2539 (มีต่อ)Summary: ในสภาพการทำลาย ของแมลงศัตรู ระดับปานกลาง พบว่า การป้องกันกำจัด แบบผสมผสาน ด้วยการปล่อย แมลงหางหนีบ 2ครั้ง ๆละ 1,000 ตัว (1ตัวต่อต้น) เมื่อข้าวโพดอายุ 10 และ 20วัน (มีต่อ)Summary: ร่วมกับการใช้สารฆ่าแมลง lambda cyhalothrin 1ครั้ง พ่นเมื่อพบ ความหนาแน่น ของเพลี้ยอ่อน 5-10 % ต่อพื้นที่ ใบทั้งต้น (เฉลี่ย 22.15 ตัวต่อต้น ) วิธีการปล่อย แมลงหางหนีบ อย่างเดียว และ วิธีการของ เกษตรกร ที่พ่นสารฆ่าแมลง 6ครั้ง (มีต่อ)Summary: ทำรายได้เพิ่มขึ้น 51.56,43.12 และ 42.56% ตามลำดับ เมื่อเทียบกับ แปลงไม่พ่น สารฆ่าแมลง สำหรับจำนวนรูเจาะ ของหนอนเจาะ ลำต้นข้าวโพด ในระยะเก็บเกี่ยว วิธีการของ เกษตรกร พบน้อยที่สุด 0.28 รูต่อต้น (มีต่อ)Summary: ในแปลงที่ปล่อย แมลงหางหนีบ อย่างเดียวมี 0.51 รูต่อต้น สำหรับอัตราส่วน ต้นทุนกำไร ในวิธีการ ป้องกันกำจัด แบบผสมผสาน และ วิธีของเกษตรกร คือ 1: 7.10 และ 1:0.83 ตามลำดับ และการป้องกัน กำจัด แบบผสมผสาน (มีต่อ)Summary: สามารถลด จำนวนการใช้ สาร ฆ่าแมลงได้ 5ครั้ง หรือลดลง 83.33 % เมื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการ ของเกษตร ปี 2540 ในสภาพการทำลาย ของแมลงศัตรู ระดับรุนแรง พบว่า การป้องกัน กำจัดแบบผสมผสาน (มีต่อ)Summary: โดยการปล่อย แมลงหางหนีบ จำนวน 500 ตัวต่อแปลง (0.25 ตัวต่อต้น) เมื่อข้าวโพด อายุ 10 วัน และ พ่นสารฆ่าแมลง ป้องกันจำกัด เพลี้ยอ่อน 1ครั้ง (พบเพลี้ยอ่อนเฉลี่ย 113.12 ตัวต่อตัว) ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น (มีต่อ)Summary: จากแปลงที่ไม่พ่น สารฆ่าแมลง เคมีสูงถึง 86.72% และมีรูเจาะเพียง 2.19 รูต่อต้น ซึ่งใกล้เคียงกัล วิธีของเกษตรกรที่ ต้องพ่นสารฆ่าแมลง 4 ครั้ง มีรายได้เพิ่มขึ้น 85.87 % พบรูเจาะเพียง 2.88 รูต่อต้น (มีต่อ)Summary: สำหรับการปล่อยแมลง หางหนีบ เพียงอย่างเดียว โดยไม่พ่นสารฆ่าแมลง มีรายได้เพิ่มขึ้น 49.62 % ซึ่งพบหนอน และ รูเจาะ จำนวนมาก คือ หนอน 6.23ตัว และรูเจาะ 6.76 รูต่อต้น ส่วนอัตราส่วนต้นทุน ต่อกำไร (มีต่อ)Summary: ในวิธีการ ป้องกัน กำจัด แบบผสมผสาน และวิธีการของ เกษตรกรคือ 1:16:8 และ 1:3:08 ตามลำดับ และการป้องกัน กำจัดแมลงแบบ ผสมผสาน สามารถลดจำนวน การใช้สารฆ่าแมลง ได้ 3 ครั้งคือลดลง 75% (มีต่อ)Summary: เมื่อเทียบกับ วิธีการของ เกษตรกร ดังนั้น ในสภาพ การทำลาย ระดับปานกลาง การปล่อยแมลง หางหนีบ อย่างเดียว สามารถควบคุมแมลง ศัตรูข้าวโพดหวาน ได้ และเป็นการลด การใช้สารฆ่าแมลงได้ 100% (มีต่อ)Summary: เมื่อเทียบกับ วิธีการของเกษตรกร และ การปล่อย แมลงหางหนีบ ร่วมกับการใช้สารฆ่าแมลง เมื่อพบแมลงศัตรูพืช ถึงระดับเศรษฐกิจ ก็จะได้ผลดี ในสภาพที่มีการทำลาย ระดับรุนแรง นอกจากนี้ พบศัตรูธรรมชาติ ในวิธีการอื่นๆ มีจำนวนมากว่า วิธีของเกษตรกร
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การนำแมลงหางหนีบ Proreus simulans Stallen [Dermaptera : Chelisochidae] ซึ่งเป็นแมลง ศัตรูธรรมชาติ ประเภทตัวห้ำที่สำคัญ ของแมลงศัตรูข้าวโพด ที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (มีต่อ)

เข้าไปปล่อย ในสภาพการปลูกข้าวโพด แบบร่องสวน ร่วมกับการใชั สารเคมี ตามชนิด แมลงศัตรูพืช เมื่อถึงระดับ เศรษฐกิจ เพื่อลดประชากร หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด Ostrinia furnacalis (Guenee) โดยเปรียบเทียบ กับวิธีการ (มีต่อ)

ของเกษตรกร วิธีการปล่อยหางหนีบ โดยไม่พ่น สารฆ่าแมลง และวิธีการไม่พ่น สารฆ่าแมลง ทำการทดลอง ระหว่างเดือน ตุลาคม 2538 - เมษายน 2540 ที่อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี จากการทดลอง ปี 2539 (มีต่อ)

ในสภาพการทำลาย ของแมลงศัตรู ระดับปานกลาง พบว่า การป้องกันกำจัด แบบผสมผสาน ด้วยการปล่อย แมลงหางหนีบ 2ครั้ง ๆละ 1,000 ตัว (1ตัวต่อต้น) เมื่อข้าวโพดอายุ 10 และ 20วัน (มีต่อ)

ร่วมกับการใช้สารฆ่าแมลง lambda cyhalothrin 1ครั้ง พ่นเมื่อพบ ความหนาแน่น ของเพลี้ยอ่อน 5-10 % ต่อพื้นที่ ใบทั้งต้น (เฉลี่ย 22.15 ตัวต่อต้น ) วิธีการปล่อย แมลงหางหนีบ อย่างเดียว และ วิธีการของ เกษตรกร ที่พ่นสารฆ่าแมลง 6ครั้ง (มีต่อ)

ทำรายได้เพิ่มขึ้น 51.56,43.12 และ 42.56% ตามลำดับ เมื่อเทียบกับ แปลงไม่พ่น สารฆ่าแมลง สำหรับจำนวนรูเจาะ ของหนอนเจาะ ลำต้นข้าวโพด ในระยะเก็บเกี่ยว วิธีการของ เกษตรกร พบน้อยที่สุด 0.28 รูต่อต้น (มีต่อ)

ในแปลงที่ปล่อย แมลงหางหนีบ อย่างเดียวมี 0.51 รูต่อต้น สำหรับอัตราส่วน ต้นทุนกำไร ในวิธีการ ป้องกันกำจัด แบบผสมผสาน และ วิธีของเกษตรกร คือ 1: 7.10 และ 1:0.83 ตามลำดับ และการป้องกัน กำจัด แบบผสมผสาน (มีต่อ)

สามารถลด จำนวนการใช้ สาร ฆ่าแมลงได้ 5ครั้ง หรือลดลง 83.33 % เมื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการ ของเกษตร ปี 2540 ในสภาพการทำลาย ของแมลงศัตรู ระดับรุนแรง พบว่า การป้องกัน กำจัดแบบผสมผสาน (มีต่อ)

โดยการปล่อย แมลงหางหนีบ จำนวน 500 ตัวต่อแปลง (0.25 ตัวต่อต้น) เมื่อข้าวโพด อายุ 10 วัน และ พ่นสารฆ่าแมลง ป้องกันจำกัด เพลี้ยอ่อน 1ครั้ง (พบเพลี้ยอ่อนเฉลี่ย 113.12 ตัวต่อตัว) ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น (มีต่อ)

จากแปลงที่ไม่พ่น สารฆ่าแมลง เคมีสูงถึง 86.72% และมีรูเจาะเพียง 2.19 รูต่อต้น ซึ่งใกล้เคียงกัล วิธีของเกษตรกรที่ ต้องพ่นสารฆ่าแมลง 4 ครั้ง มีรายได้เพิ่มขึ้น 85.87 % พบรูเจาะเพียง 2.88 รูต่อต้น (มีต่อ)

สำหรับการปล่อยแมลง หางหนีบ เพียงอย่างเดียว โดยไม่พ่นสารฆ่าแมลง มีรายได้เพิ่มขึ้น 49.62 % ซึ่งพบหนอน และ รูเจาะ จำนวนมาก คือ หนอน 6.23ตัว และรูเจาะ 6.76 รูต่อต้น ส่วนอัตราส่วนต้นทุน ต่อกำไร (มีต่อ)

ในวิธีการ ป้องกัน กำจัด แบบผสมผสาน และวิธีการของ เกษตรกรคือ 1:16:8 และ 1:3:08 ตามลำดับ และการป้องกัน กำจัดแมลงแบบ ผสมผสาน สามารถลดจำนวน การใช้สารฆ่าแมลง ได้ 3 ครั้งคือลดลง 75% (มีต่อ)

เมื่อเทียบกับ วิธีการของ เกษตรกร ดังนั้น ในสภาพ การทำลาย ระดับปานกลาง การปล่อยแมลง หางหนีบ อย่างเดียว สามารถควบคุมแมลง ศัตรูข้าวโพดหวาน ได้ และเป็นการลด การใช้สารฆ่าแมลงได้ 100% (มีต่อ)

เมื่อเทียบกับ วิธีการของเกษตรกร และ การปล่อย แมลงหางหนีบ ร่วมกับการใช้สารฆ่าแมลง เมื่อพบแมลงศัตรูพืช ถึงระดับเศรษฐกิจ ก็จะได้ผลดี ในสภาพที่มีการทำลาย ระดับรุนแรง นอกจากนี้ พบศัตรูธรรมชาติ ในวิธีการอื่นๆ มีจำนวนมากว่า วิธีของเกษตรกร