การศึกษาปริมาณ สารเคมมีที่พบบน พุทรา จากการใช้อัตราการพ่นต่างกัน / ไพศาล รัตนเสถียร, จีรนุช เอกอำนวย

By: ไพศาล รัตนเสถียรContributor(s): จีรนุช เอกอำนวยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พุทรา -- การพ่นสารเคมี | พุทรา -- ศัตรูพืช | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2542) หน้า 84 - 91Summary: การศึกษา ปริมาณของสารเคมีที่ตก บนต้นพุทรา โดยการวางแผนกาารทดลองแบบ RCB มี 10 ซ้ำ 3 กรรมวิธี ใช้ต้นพุทราจำนวน 3ต้น ต่อกรรมวิธี คือ การพ่นสี benzo scarlet 10% จำนวน 60 ม.ล. ผสมน้ำอัตรา 8,10 และ 14 ลิตร ต่อพุทรา 3ต้น หรือใช้อัตราการพ่น 250,350 และ 450 ลิตรต่อไป ด้วยเครื่องพ่น แบบใช้แรงดันน้ำ ผลการวิเคาระห์ (มีต่อ)Summary: ปริมาณสีจากต้นพุทรา พบว่า การใช้น้ำผสมจำนวน 8ลิตร ตรวจพบปริมาณ สีมากที่สุด ประมาณ 8.360x10 ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. และตรวจพบในปริมาณ 2.175x10 ยกลังลบ 4 และ 2.176x10 ยกกำลังลบ 4 ไมโครกรัมต่อ ตร.ซม. จากการพ่นที่ใช้น้ำในอัตรา 10และ14 ลิตร (มีต่อ)Summary: ตามลำดับซึ่งสรุปได้ว่า การใช้อัตราน้ำ ผสมน้อยช่วยให้สี benzo scarlet หรืออีก นัยหนึ่งคือ ปริมาณสารเคมี ตกค้างอยู่บน ต้นพุทรามากขึ้น ทำการทดสอบเพิ่มเติม โดยการพ่นน้ำสี benzo scaret ใช้ความเข้มข้นเดียวคือ 0.02% แต่ใช้อัตราการพ่น 3อัตรา (มีต่อ)Summary: พบว่าปริมาณสี ที่ตรวจวัดได้จากใบพุทรา มีปริมาณสี ใกล้เคียงกัน ทุกอัตราการพ่น และไม่มีความแตกต่าง กันทางสถิติ ปริมาณสีที่ตรวจพบ คือ1.146x10 ยกกำลังลบ 4 1.232x10ยกกำลังลบ4 และ1.140x10ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. ตามลำดับ (มีต่อ)Summary: สรุปได้ว่า การพ่นสารเคมี ที่ระดับความเข้มข้น เดียวกัน แม้จะใช้อัตราการพ่น แตกต่างกันก็ตาม จะมีการกระจาย ของสีหรือสารเคมี บนต้นพืชในระดับใกล้เคียงกัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การศึกษา ปริมาณของสารเคมีที่ตก บนต้นพุทรา โดยการวางแผนกาารทดลองแบบ RCB มี 10 ซ้ำ 3 กรรมวิธี ใช้ต้นพุทราจำนวน 3ต้น ต่อกรรมวิธี คือ การพ่นสี benzo scarlet 10% จำนวน 60 ม.ล. ผสมน้ำอัตรา 8,10 และ 14 ลิตร ต่อพุทรา 3ต้น หรือใช้อัตราการพ่น 250,350 และ 450 ลิตรต่อไป ด้วยเครื่องพ่น แบบใช้แรงดันน้ำ ผลการวิเคาระห์ (มีต่อ)

ปริมาณสีจากต้นพุทรา พบว่า การใช้น้ำผสมจำนวน 8ลิตร ตรวจพบปริมาณ สีมากที่สุด ประมาณ 8.360x10 ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. และตรวจพบในปริมาณ 2.175x10 ยกลังลบ 4 และ 2.176x10 ยกกำลังลบ 4 ไมโครกรัมต่อ ตร.ซม. จากการพ่นที่ใช้น้ำในอัตรา 10และ14 ลิตร (มีต่อ)

ตามลำดับซึ่งสรุปได้ว่า การใช้อัตราน้ำ ผสมน้อยช่วยให้สี benzo scarlet หรืออีก นัยหนึ่งคือ ปริมาณสารเคมี ตกค้างอยู่บน ต้นพุทรามากขึ้น ทำการทดสอบเพิ่มเติม โดยการพ่นน้ำสี benzo scaret ใช้ความเข้มข้นเดียวคือ 0.02% แต่ใช้อัตราการพ่น 3อัตรา (มีต่อ)

พบว่าปริมาณสี ที่ตรวจวัดได้จากใบพุทรา มีปริมาณสี ใกล้เคียงกัน ทุกอัตราการพ่น และไม่มีความแตกต่าง กันทางสถิติ ปริมาณสีที่ตรวจพบ คือ1.146x10 ยกกำลังลบ 4 1.232x10ยกกำลังลบ4 และ1.140x10ยกกำลังลบ4 ไมโครกรัม ต่อ ตร.ซม. ตามลำดับ (มีต่อ)

สรุปได้ว่า การพ่นสารเคมี ที่ระดับความเข้มข้น เดียวกัน แม้จะใช้อัตราการพ่น แตกต่างกันก็ตาม จะมีการกระจาย ของสีหรือสารเคมี บนต้นพืชในระดับใกล้เคียงกัน