การจัดการข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมกับสารสนเทศภูมิศาสตร์ / ลักษมี เจี้ยเวชศิลป์

By: ลักษมี เจี้ยเวชศิลป์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สิ่งแวดล้อม | สารสนเทศภูมิศาสตร์ | SCI-TECH In: สิ่งแวดล้อม ปีที่ 3 ฉบับที่ 12 (มกราคม-มีนาคม 2542) หน้า 40 - 46Summary: ข้อมูล ด้าน สิ่งแวดล้อม มีลักษณะ เฉพาะแตกต่าง กับข้อมูลอื่น เนื่องจาก ข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม มีความ สัมพันธ์ เกี่ยวข้องกับ ตำแหน่ง ที่ตั้ง มีความสลับ ซับซ้อน และมีปริมาณ ข้อมูลมาก ทำให้ลักษณะ การจัดการ ข้อมูลด้าน สิ่งแวดล้อม มีความท้าทาย มากกว่า การจัดเก็บ ฐานข้อมูล ประเภทอื่น การจะเลือกใช้ระบบ การจัดการ ฐานข้อมูล (มีต่อ)Summary: จึงจำเป็น ต้องพิจารณา ข้อดี และ ข้อด้อย ของ IS นั้น ๆ นอกจากจะ แตกต่าง กันไป ในแง่มุมต่างๆ ตาม วัตถุประสงค์ การสร้าง ฐานข้อมูล ได้แก่ กลุ่มข้อมูล ด้านธรณีวิทยา กลุ่มข้อมูล ทางทะเล กลุ่มข้อมูล นิเวศวิทยา กลุ่มข้อมูล เกี่ยวกับน้ำ กลุ่มข้อมูล อากาศ กลุ่มข้อมูลเส้น กลุ่มข้อมูลโทรสัมผัส การแปรรูปข้อมูล จากข้อมูล แผนที่ กระดาษ เป็นแผนที่ บนคอมพิวเตอร์ (มีต่อ)Summary: ควรมีการ คำนึงถึง การนำไปใช้ เป็นหลัก หากผู้ใช้ ต้องการ นำไป วิเคราะห์ ทางสถิติ หรือ overlay ก็ไม่ จำเป็นต้อง digtize โดยมี จำนวน จุดมากเกินไป เพราะเป็นการ เก็บข้อมูล ที่มีรายละเอียด สูงเกิน ความจำเป็น เป็นการสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่าย และเวลา ขณะจัดเก็บข้อมูล เปลืองเนื้อที่ ในการเก็บข้อมูล อุปสรรค ในอีกมุมมองหนึ่ง (มีต่อ)Summary: ในเรื่อง การจัดการ ฐานข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม คือ การขาดแคลน digital map หรือ แผนที่ พื้นฐาน ที่สามารถ นำไป ใช้ได้เลยใน ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ที่เชื่อถือได้ และบุคคลทั่วไป สามารถนำ ไปใช้ได้ โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายค่า ข้อมูล ข้อควรระวัง ในการวางแผน โครงสร้าง ข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)Summary: คือ มาตรฐาน ของข้อมูล ผู้วางแผน ควรได้ ตรวจสอบ มาตรฐาน ของข้อมูล จากหนังสืออ้างอิง มาตรฐาน ระบบข้อมูล ระบบสารสนเทส ภูมิศาสตร์ ภาคผนวก " โดยศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สำนักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ข้อมูล ด้าน สิ่งแวดล้อม มีลักษณะ เฉพาะแตกต่าง กับข้อมูลอื่น เนื่องจาก ข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม มีความ สัมพันธ์ เกี่ยวข้องกับ ตำแหน่ง ที่ตั้ง มีความสลับ ซับซ้อน และมีปริมาณ ข้อมูลมาก ทำให้ลักษณะ การจัดการ ข้อมูลด้าน สิ่งแวดล้อม มีความท้าทาย มากกว่า การจัดเก็บ ฐานข้อมูล ประเภทอื่น การจะเลือกใช้ระบบ การจัดการ ฐานข้อมูล (มีต่อ)

จึงจำเป็น ต้องพิจารณา ข้อดี และ ข้อด้อย ของ IS นั้น ๆ นอกจากจะ แตกต่าง กันไป ในแง่มุมต่างๆ ตาม วัตถุประสงค์ การสร้าง ฐานข้อมูล ได้แก่ กลุ่มข้อมูล ด้านธรณีวิทยา กลุ่มข้อมูล ทางทะเล กลุ่มข้อมูล นิเวศวิทยา กลุ่มข้อมูล เกี่ยวกับน้ำ กลุ่มข้อมูล อากาศ กลุ่มข้อมูลเส้น กลุ่มข้อมูลโทรสัมผัส การแปรรูปข้อมูล จากข้อมูล แผนที่ กระดาษ เป็นแผนที่ บนคอมพิวเตอร์ (มีต่อ)

ควรมีการ คำนึงถึง การนำไปใช้ เป็นหลัก หากผู้ใช้ ต้องการ นำไป วิเคราะห์ ทางสถิติ หรือ overlay ก็ไม่ จำเป็นต้อง digtize โดยมี จำนวน จุดมากเกินไป เพราะเป็นการ เก็บข้อมูล ที่มีรายละเอียด สูงเกิน ความจำเป็น เป็นการสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่าย และเวลา ขณะจัดเก็บข้อมูล เปลืองเนื้อที่ ในการเก็บข้อมูล อุปสรรค ในอีกมุมมองหนึ่ง (มีต่อ)

ในเรื่อง การจัดการ ฐานข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม คือ การขาดแคลน digital map หรือ แผนที่ พื้นฐาน ที่สามารถ นำไป ใช้ได้เลยใน ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ที่เชื่อถือได้ และบุคคลทั่วไป สามารถนำ ไปใช้ได้ โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายค่า ข้อมูล ข้อควรระวัง ในการวางแผน โครงสร้าง ข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)

คือ มาตรฐาน ของข้อมูล ผู้วางแผน ควรได้ ตรวจสอบ มาตรฐาน ของข้อมูล จากหนังสืออ้างอิง มาตรฐาน ระบบข้อมูล ระบบสารสนเทส ภูมิศาสตร์ ภาคผนวก " โดยศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สำนักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม