คลองจะใส...ด้วยพลังมวลชน

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | สิ่งแวดล้อม | การอนุรักษ์น้ำ In: โลกใบใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 113 (กุมภาพันธ์ 2542) หน้า 46 - 48Summary: ปัจจุบันคลองในกรุงเทพฯ นั้น สกปรกไปด้วยขยะของเสียต่างๆ มากมาย จนทำให้ในลำคลองเหล่านั้นกลายเป็นสีดำ และเป็นมลพิษต่อสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะผู้คนที่ต้องอาศัยอยู่ริมคลอง ถึงแม้ว่าคนในเมืองส่วนใหญ่จะไม่ได้อาศัยอยู่ติดคลองมากนัก แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยทีเดียวที่ยังต้องพึ่งพาและใช้ชีวิตกับลำคลองเหล่านั้น มีกลุ่มคนที่เล็งเห็นปัญหาคุณภาพชีวิตของคนเหล่านั้น ซึ่งได้พยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยกันพลิกฟื้นคืนชีวิตให้กับลำคลองอีกครั้ง แม้ว่าจะไม่ใช่เรื่องง่ายเลยทีเดียว (มีต่อ)Summary: สถาบันราชภัฏจันทรเกษมได้คิดริเริ่มในการฟื้นชีวิตคลองในกรุงเทพฯ เป็นการกระตุ้นจิตสำนึกให้คนไทยหันมาใส่ใจดูแลรักษาลำคลองให้สะอาดอีกครั้ง จนกระทั่งมาถึงตรงนี้การดำเนินการในการฟื้นฟูลำคลองของสถาบันราชภัฏจันทรเกษมก็มิได้หยุดแต่เพียงแค่นั้น โครงการอนุรักษ์คูคลอง ได้ทำให้รู้สึกว่าคุณภาพชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ติดกับคลองนั้นน่าเป็นห่วงเป็นใย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของสิ่งแวดล้อม ปี 2540 ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับดิน น้ำ ปลา อากาศ เสียง จึงทำให้รู้ว่า คลองปัจจุบันอยู่ในขีดของความอันตราย ถึงจะต้องใช้เวลานานเพียงใด ในการรักษาลำคลองให้ใสสะอาดเหมือนดังเดิม ต้องมีความมุ่งมั่นในการเดินหน้า ในการอนุรักษ์ลำคลอง พร้อมกับแนวร่วมที่หลายฝ่ายจะร่วมมือกันช่วยกันพัฒนาลำคลอง ในกรุงเทพฯ ให้กลับฟื้นคืนขึ้นมาให้สดใส ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันคลองในกรุงเทพฯ นั้น สกปรกไปด้วยขยะของเสียต่างๆ มากมาย จนทำให้ในลำคลองเหล่านั้นกลายเป็นสีดำ และเป็นมลพิษต่อสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะผู้คนที่ต้องอาศัยอยู่ริมคลอง ถึงแม้ว่าคนในเมืองส่วนใหญ่จะไม่ได้อาศัยอยู่ติดคลองมากนัก แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยทีเดียวที่ยังต้องพึ่งพาและใช้ชีวิตกับลำคลองเหล่านั้น มีกลุ่มคนที่เล็งเห็นปัญหาคุณภาพชีวิตของคนเหล่านั้น ซึ่งได้พยายามอย่างยิ่งที่จะช่วยกันพลิกฟื้นคืนชีวิตให้กับลำคลองอีกครั้ง แม้ว่าจะไม่ใช่เรื่องง่ายเลยทีเดียว (มีต่อ)

สถาบันราชภัฏจันทรเกษมได้คิดริเริ่มในการฟื้นชีวิตคลองในกรุงเทพฯ เป็นการกระตุ้นจิตสำนึกให้คนไทยหันมาใส่ใจดูแลรักษาลำคลองให้สะอาดอีกครั้ง จนกระทั่งมาถึงตรงนี้การดำเนินการในการฟื้นฟูลำคลองของสถาบันราชภัฏจันทรเกษมก็มิได้หยุดแต่เพียงแค่นั้น โครงการอนุรักษ์คูคลอง ได้ทำให้รู้สึกว่าคุณภาพชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ติดกับคลองนั้นน่าเป็นห่วงเป็นใย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของสิ่งแวดล้อม ปี 2540 ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับดิน น้ำ ปลา อากาศ เสียง จึงทำให้รู้ว่า คลองปัจจุบันอยู่ในขีดของความอันตราย ถึงจะต้องใช้เวลานานเพียงใด ในการรักษาลำคลองให้ใสสะอาดเหมือนดังเดิม ต้องมีความมุ่งมั่นในการเดินหน้า ในการอนุรักษ์ลำคลอง พร้อมกับแนวร่วมที่หลายฝ่ายจะร่วมมือกันช่วยกันพัฒนาลำคลอง ในกรุงเทพฯ ให้กลับฟื้นคืนขึ้นมาให้สดใส ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง