ศักยภาพการดูดซับโลหะหนักจากที่ฝังกลบมูลฝอยโดยหญ้าแฝก / สุพิชชา จันทรโยธา, นวลศรี รุ่งธนเกียรติ, ธนสรรค์ นิรัญราช

By: สุพิชชา จันทรโยธาContributor(s): นวลฉวี รุ่งธนเกียรติ | ธนสรรค์ นิรัญราชCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | หญ้าแฝก | สิ่งแวดล้อม In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 55 เล่มที่ 1 (มกราคม 2545) หน้า 97-100Summary: การดูดซับโลหะหนักของหญ้าแฝก พบว่า แฝกมีความทนทานและสามารถขึ้นได้ในดินที่มีสภาวะสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เนื่องจากการเน่าเสียจากอินทรีย์ของน้ำขยะมูลฝอย หญ้าแฝก เป็นพืชที่มีความทนทาน สามารถขึ้นได้ในดินเกือบทุกชนิดและในสภาพแวดล้อมต่างๆ มีความทนทานต่อความเป็นพิษของสารเคมี และความเป็นพิษของโลหะหนัก เช่น สังกะสี ทองแดง ตะกั่วโครเมียม และนิเกิล มากกว่าพืชชนิดอื่น มีรากที่ยาวแผ่กระจายเป็นตาข่ายในดิน (มีต่อ)Summary: จึงเปรียบเสมือนกำแพงธรรมชาติใต้ดินที่มีชีวิตที่สำคัญคือ ไม่มีคุณสมบัติที่เป็นวัชพืช และไม่เป็นที่ต้องการของแมลง จึงไม่มีผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศ และมีแนวโน้มว่าแฝกสามารถรักษาหน้าดินของที่ฝังกลบมูลฝอยจากการกัดเซาะของน้ำชะมูลฝอยได้ ในระยะยาวจึงมีความเป็นไปได้ที่แฝกจะดูดซับโลหะหนักในที่ฝังกลบมูลฝอย จนถึงขีดระดับความเข้มข้นที่มีผลต่อ ต่อการเจริญเติบโตของแฝก แต่ข้อจำกัดของวิธีการบำบัดแบบนี้คือ จะได้ผลดีเฉพาะการปนเปื่อนปริมาณน้อย และมีความลึกประมาณเท่ากับความยาวของรากแฝกเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามวิธีการบำบัดสารพิษด้วยแฝกสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่มีการปนเปื่อนด้วยโลหะหนักดังกล่าวได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การดูดซับโลหะหนักของหญ้าแฝก พบว่า แฝกมีความทนทานและสามารถขึ้นได้ในดินที่มีสภาวะสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เนื่องจากการเน่าเสียจากอินทรีย์ของน้ำขยะมูลฝอย หญ้าแฝก เป็นพืชที่มีความทนทาน สามารถขึ้นได้ในดินเกือบทุกชนิดและในสภาพแวดล้อมต่างๆ มีความทนทานต่อความเป็นพิษของสารเคมี และความเป็นพิษของโลหะหนัก เช่น สังกะสี ทองแดง ตะกั่วโครเมียม และนิเกิล มากกว่าพืชชนิดอื่น มีรากที่ยาวแผ่กระจายเป็นตาข่ายในดิน (มีต่อ)

จึงเปรียบเสมือนกำแพงธรรมชาติใต้ดินที่มีชีวิตที่สำคัญคือ ไม่มีคุณสมบัติที่เป็นวัชพืช และไม่เป็นที่ต้องการของแมลง จึงไม่มีผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศ และมีแนวโน้มว่าแฝกสามารถรักษาหน้าดินของที่ฝังกลบมูลฝอยจากการกัดเซาะของน้ำชะมูลฝอยได้ ในระยะยาวจึงมีความเป็นไปได้ที่แฝกจะดูดซับโลหะหนักในที่ฝังกลบมูลฝอย จนถึงขีดระดับความเข้มข้นที่มีผลต่อ ต่อการเจริญเติบโตของแฝก แต่ข้อจำกัดของวิธีการบำบัดแบบนี้คือ จะได้ผลดีเฉพาะการปนเปื่อนปริมาณน้อย และมีความลึกประมาณเท่ากับความยาวของรากแฝกเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามวิธีการบำบัดสารพิษด้วยแฝกสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่มีการปนเปื่อนด้วยโลหะหนักดังกล่าวได้