วิศวกรกับปูมอินเตอร์เน็ตไทย / ธนวดี ลิ้มวารีสกุล

By: ธนวดี ลิ้มวารีสกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | อินเตอร์เน็ต | วิศวกร -- อินเตอร์เน็ต In: วิศวกรรมสาร ฉบับ ว.ส.ท. เทคโนโลยี ปีที่ 53 เล่มที่ 3 (มีนาคม 2543) หน้า 36-41Summary: ประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆในแถบทวีปเอเชียที่มีอินเตอร์เน็ตใช้ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุ่มเททำงานและทัศนวิสัยอันกว้างไกลของ วิศวกรไทยจำนวนหนึ่ง ที่ไม่ย่อท้อต่อความจำกัดทางด้าน เครื่องมือเครื่องใช้ และความรู้ความสามารถทางด้านการสื่อสาร ของประเทศไทยในสมัยก่อน วึ่งสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส ำหรับวิชาการขึ้นมาได้ ในปี พ.ศ. 2529 โดยอาศัยเงินทุนจำนวน เล็กน ้อย และความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากประเทศออสเตรเลีย เริ่มจากการ ใช้ซอฟต์แวร์ uucp ผ่านโปรโตคอล x.25 และต่อมาในปีSummary: ประเทศไทยเป็นประเทศแรกๆ ในแถบทวีปเอเชียที่มีอินเตอร์เน็ตใช้ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุ่มเททำงานและทัศนวิสัยอันกว้างไกลของวิศวกรไทยจำนวนหนึ่ง ที่ไม่ย่อท้อต่อความจำกัดทางด้านเครื่องมือเครื่องใช้ และความรู้ความสามารถทางด้านการสื่อสารของประเทศไทยในสมัยก่อน ซึ่งสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับวิชาการขึ้นมาได้ ในปี พ.ศ. 2529 โดยอาศัยเงินทุนจำนวนเล็กน้อย และความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากประเทศออสเตรเลียเริ่มจากการใช้ซอฟต์แวร์ uucp ผ่านโปรโตคอล x.25 และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงค่อยๆ เปลี่ยนมาใช้โพรโตคอล TCP/ IP ปัจจุบันการใช้อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้นในประเทศไทย (มีต่อ)Summary: โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โดยที่ไม่ได้เป็นเพียงเครื่องมือถ่ายทอดข้อมูล ของนักวิชาการเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือสื่อสารและโอกาสในการประกอบธุรกิจขึ้นใหม่ของคนไทยทั่วไปอีกด้วย ขณะเดียวกันอุปสรรคของอินเตอร์เน็ตไทย คือระบบผูกขาดทางโทรมนาคม ความไม่แน่นอนทางการเมืองอุปสรรคทางภาษา ความขาดแคลนด้านซอฟต์แวร์ภาษาวิศวกรที่ชำนาญ และบุคลากรด้านสารสนเทศที่ขาดแคลน ปัญหาอีกด้านคือ แม้ว่าวิศวกรไทยจะสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้สำเร็จพวกเขาก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมด้านโทรคมนาคมและกฎหมาย ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตของอินเตอร์เน็ตได้ (มีต่อ)Summary: นอกจากนี้ธุรกิจอินเตอร์เน็ตของไทย ยังพบกับความยุ่งยากทางกฎระเบียบและความไม่แน่นอนทางด้านการเมือง ซึ่งจะเห็นได้จากรัฐบาลใช้เวลานานกว่าจะรับรู้ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต และลงมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แทนที่จะส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็นการให้การศึกษาแก่ประชาชนรัฐบาลกับเก็บเอาอินเตอร์เน็ตไว้ให้แก่เฉพาะนักวิชาการ และลูกจ้างรัฐในระยะเริ่มต้น ปัญหาอีกประการหนึ่งที่ทำให้คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่อยากใช้อินเตอร์เน็ต ก็คือข้อมูลซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องมักเป็นภาษาอังกฤษ ความร่วมมือกันของนักบุกเบิกอินเตอร์เน็ตชาวไทย และเพื่อนร่วมงานต่างประเทศได้แสดงให้เห็นถึงวิธีการใช้เทคโนโลยีในการติดต่ออินเตอร์เน็ตทั่วโลกอีกทั้งเป็นการส่งเสริมบทบาทของไทยในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสื่อสารที่โตเร็วที่สุดในโลกนี้ด้วยเช่นกัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆในแถบทวีปเอเชียที่มีอินเตอร์เน็ตใช้ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุ่มเททำงานและทัศนวิสัยอันกว้างไกลของ วิศวกรไทยจำนวนหนึ่ง ที่ไม่ย่อท้อต่อความจำกัดทางด้าน เครื่องมือเครื่องใช้ และความรู้ความสามารถทางด้านการสื่อสาร ของประเทศไทยในสมัยก่อน วึ่งสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส ำหรับวิชาการขึ้นมาได้ ในปี พ.ศ. 2529 โดยอาศัยเงินทุนจำนวน เล็กน ้อย และความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากประเทศออสเตรเลีย เริ่มจากการ ใช้ซอฟต์แวร์ uucp ผ่านโปรโตคอล x.25 และต่อมาในปี

ประเทศไทยเป็นประเทศแรกๆ ในแถบทวีปเอเชียที่มีอินเตอร์เน็ตใช้ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุ่มเททำงานและทัศนวิสัยอันกว้างไกลของวิศวกรไทยจำนวนหนึ่ง ที่ไม่ย่อท้อต่อความจำกัดทางด้านเครื่องมือเครื่องใช้ และความรู้ความสามารถทางด้านการสื่อสารของประเทศไทยในสมัยก่อน ซึ่งสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับวิชาการขึ้นมาได้ ในปี พ.ศ. 2529 โดยอาศัยเงินทุนจำนวนเล็กน้อย และความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคจากประเทศออสเตรเลียเริ่มจากการใช้ซอฟต์แวร์ uucp ผ่านโปรโตคอล x.25 และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 จึงค่อยๆ เปลี่ยนมาใช้โพรโตคอล TCP/ IP ปัจจุบันการใช้อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้นในประเทศไทย (มีต่อ)

โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โดยที่ไม่ได้เป็นเพียงเครื่องมือถ่ายทอดข้อมูล ของนักวิชาการเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือสื่อสารและโอกาสในการประกอบธุรกิจขึ้นใหม่ของคนไทยทั่วไปอีกด้วย ขณะเดียวกันอุปสรรคของอินเตอร์เน็ตไทย คือระบบผูกขาดทางโทรมนาคม ความไม่แน่นอนทางการเมืองอุปสรรคทางภาษา ความขาดแคลนด้านซอฟต์แวร์ภาษาวิศวกรที่ชำนาญ และบุคลากรด้านสารสนเทศที่ขาดแคลน ปัญหาอีกด้านคือ แม้ว่าวิศวกรไทยจะสามารถสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้สำเร็จพวกเขาก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมด้านโทรคมนาคมและกฎหมาย ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตของอินเตอร์เน็ตได้ (มีต่อ)

นอกจากนี้ธุรกิจอินเตอร์เน็ตของไทย ยังพบกับความยุ่งยากทางกฎระเบียบและความไม่แน่นอนทางด้านการเมือง ซึ่งจะเห็นได้จากรัฐบาลใช้เวลานานกว่าจะรับรู้ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต และลงมือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แทนที่จะส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็นการให้การศึกษาแก่ประชาชนรัฐบาลกับเก็บเอาอินเตอร์เน็ตไว้ให้แก่เฉพาะนักวิชาการ และลูกจ้างรัฐในระยะเริ่มต้น ปัญหาอีกประการหนึ่งที่ทำให้คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่อยากใช้อินเตอร์เน็ต ก็คือข้อมูลซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องมักเป็นภาษาอังกฤษ ความร่วมมือกันของนักบุกเบิกอินเตอร์เน็ตชาวไทย และเพื่อนร่วมงานต่างประเทศได้แสดงให้เห็นถึงวิธีการใช้เทคโนโลยีในการติดต่ออินเตอร์เน็ตทั่วโลกอีกทั้งเป็นการส่งเสริมบทบาทของไทยในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสื่อสารที่โตเร็วที่สุดในโลกนี้ด้วยเช่นกัน