พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานไม่สิ้นสุด / ชนินาถ เจริญผล

By: ชนินาถ เจริญผลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | พลังงานแสงอาทิตย์ | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2542) หน้า 34 - 36Summary: พระราชกรณียกิจ แห่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นไปเพื่อ เกื้อหนุน และสงเคราะห์ ประชาชน นานัประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานด้านการพัฒนา และการปรับปรุง คุณภาพชีวิต ของประชาชน พระองค์ทรงมี พระราชดำริ ในโครงการ ต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ด้านเกษตรกรรม ด้านสาธารณสุข (มีต่อ)Summary: ด้านสังคมสงเคาระห์ ฯลฯ ทรงมุ่งที่จะ ให้มีการพัฒนา และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ในการดำเนินงาน โครงการพัฒนาต่างๆ นั้น พระองค์ทรง ถือหลักว่า จะต้องเป็นการ ร่วมมือกันระหว่าง ประชาชนกับ หน่วยราชการ ในปี 2542 เป็นปีที่พระองค์ ทรงมีพระชนมายุ ครบ 6 รอบ (มีต่อ)Summary: หน่วยงานราชการต่างๆ ต่างพร้อมใจกัน จัดทำโครงการ เฉลิมพระเกียรติ โดยหน่วยงาน ในสาขาพลังงาน ได้จัดทำโครงการ โดยนำพลังงานทดแทน มาใช้ เพื่ออนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตามโครงการ อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ซึ่งโครงการ ดังกล่าว ได้รับความร่วมมือด้วยดี (มีต่อ)Summary: จากหน่วยงาน ราชการต่างๆ ทั้งจากภาครัฐ และ ภาคเอกชน เป็นจำนวนมาก รวมทั้ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็เข้าร่วม โครงการด้วย โครงการนี้ คือ "โครงการเฉลิมพระเกียรติ ระบบผลิต และ จำหน่ายไฟฟ้า จากเซลล์แสงอาทิตย์ บนหลังคา อาคารศูนย์พัฒนา อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ " (มีต่อ)Summary: โดยจะดำเนินการ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ อำเภอชะอำ จังวัดเพชรบุรี ให้แล้วเสร็จ ก่อนพฤศจิกายน 2542 เพื่อจะได้ นำทูลเกล้าถวาย แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ต่อไป การผลิตไฟฟ้า ด้วยเซลล์ แสงอาทิตย์ (มีต่อ)Summary: ไม่ก่อให้เกิด มลภาวะทาง อากาศ เสียง และน้ำ เพราะไม่มี การเผาไหม้ มีการบำรุง รักษาน้อย ระบบการทำงาน ง่าย ไม่สลับซับซ้อน สำหรับงบประมาณ ที่ใช้ดำเนินการ กฟผ. ได้รับการอนุมัติ จากกองทุน เพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์ พลังงาน สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงาน แห่งชาติ (สพช.) (มีต่อ)Summary: จำนวนเงิน 5,295,000 บาท ความมุ่งหวัง ของโครงการ คงไม่เพียแต่ การผลิตกระแสไฟฟ้า จากเซลล์แสงอาทิตย์ เท่านั้น กฟผ. ตระหนักดีว่า การผลิตไฟฟ้า (มีต่อ)Summary: ภายใต้เชื้อเพลิง ที่สะอาด และ นำพลังงานที่มีอยู่ ในธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ ย่อมเป็นการพัฒนา ไฟฟ้าที่ยั่งยืน และมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พระราชกรณียกิจ แห่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ เป็นไปเพื่อ เกื้อหนุน และสงเคราะห์ ประชาชน นานัประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานด้านการพัฒนา และการปรับปรุง คุณภาพชีวิต ของประชาชน พระองค์ทรงมี พระราชดำริ ในโครงการ ต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ด้านเกษตรกรรม ด้านสาธารณสุข (มีต่อ)

ด้านสังคมสงเคาระห์ ฯลฯ ทรงมุ่งที่จะ ให้มีการพัฒนา และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ในการดำเนินงาน โครงการพัฒนาต่างๆ นั้น พระองค์ทรง ถือหลักว่า จะต้องเป็นการ ร่วมมือกันระหว่าง ประชาชนกับ หน่วยราชการ ในปี 2542 เป็นปีที่พระองค์ ทรงมีพระชนมายุ ครบ 6 รอบ (มีต่อ)

หน่วยงานราชการต่างๆ ต่างพร้อมใจกัน จัดทำโครงการ เฉลิมพระเกียรติ โดยหน่วยงาน ในสาขาพลังงาน ได้จัดทำโครงการ โดยนำพลังงานทดแทน มาใช้ เพื่ออนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตามโครงการ อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ซึ่งโครงการ ดังกล่าว ได้รับความร่วมมือด้วยดี (มีต่อ)

จากหน่วยงาน ราชการต่างๆ ทั้งจากภาครัฐ และ ภาคเอกชน เป็นจำนวนมาก รวมทั้ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็เข้าร่วม โครงการด้วย โครงการนี้ คือ "โครงการเฉลิมพระเกียรติ ระบบผลิต และ จำหน่ายไฟฟ้า จากเซลล์แสงอาทิตย์ บนหลังคา อาคารศูนย์พัฒนา อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ " (มีต่อ)

โดยจะดำเนินการ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ อำเภอชะอำ จังวัดเพชรบุรี ให้แล้วเสร็จ ก่อนพฤศจิกายน 2542 เพื่อจะได้ นำทูลเกล้าถวาย แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ต่อไป การผลิตไฟฟ้า ด้วยเซลล์ แสงอาทิตย์ (มีต่อ)

ไม่ก่อให้เกิด มลภาวะทาง อากาศ เสียง และน้ำ เพราะไม่มี การเผาไหม้ มีการบำรุง รักษาน้อย ระบบการทำงาน ง่าย ไม่สลับซับซ้อน สำหรับงบประมาณ ที่ใช้ดำเนินการ กฟผ. ได้รับการอนุมัติ จากกองทุน เพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์ พลังงาน สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายพลังงาน แห่งชาติ (สพช.) (มีต่อ)

จำนวนเงิน 5,295,000 บาท ความมุ่งหวัง ของโครงการ คงไม่เพียแต่ การผลิตกระแสไฟฟ้า จากเซลล์แสงอาทิตย์ เท่านั้น กฟผ. ตระหนักดีว่า การผลิตไฟฟ้า (มีต่อ)

ภายใต้เชื้อเพลิง ที่สะอาด และ นำพลังงานที่มีอยู่ ในธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ ย่อมเป็นการพัฒนา ไฟฟ้าที่ยั่งยืน และมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุด