การบริหารค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา / ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช

By: ไกรวิทย์ เศรษฐวนิชCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การบำรุงรักษา | เครื่องจักรกลในอุตสาหกรรม -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 28 ฉบับที่ 158 (สิงหาคม-กันยายน 2544) หน้า 153-157Summary: ในการบำรุงรักษาที่มีประสิทธิภาพนั้น นอกจากจะป้องกันความเสียหายที่เกิดจากเครื่องจักรอุปกรณ์แล้ว ฝ่ายซ่อมบำรุงจะต้องควบคุมค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาอีกด้วย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความสามารถอย่างหนึ่งของการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษา นับว่เป็นการควบคุมต้นทุนการผลิตอย่างหนึ่ง ที่มีทั้งค่าแรงงาน ค่าวัสดุอะไหล่ และค่าโสหุ้ยต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในขณะดำเนินกิจกรรม การบำรุงรักษาเช่นเดียวกับการผลิต แต่ที่ผ่านมาผู้บริหารระดับสูงหลายแห่งมักจะไม่ค่อยทราบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นดังกล่าว โดยมุ่งเน้นที่ความพยายามที่จะกดดันทุนที่ฝ่ายผลิตเป็นส่วนใหญ่ (มีต่อ)Summary: ยังมีผู้ประกอบการที่กล้าจะลงทุนซื้อเครื่องจักรราคาหลายสิบล้าน เมื่อมองเห็นโอกาสการแข่งขันในตลาด แต่ขาดช่างที่มีความรู้ความเข้าใจที่ดูแลรักษาเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพที่ดีพอ ผลลัพธ์คือ เครื่องจักรเสียหายหรือเสื่อมสภาพเร็วกว่ากำหนด ซึ่งมีผลตอค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นถึงเวลาแล้วที่ผู้ประกอบการจะต้องให้ะความสนใจต่อค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงอย่างจริงจังโดยเริ่มจากการจัดเก็บระบบข้อมูลพื้นฐานของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่มีกิจกรรมการบำรุงรักษาเครื่องจักรภายในโรงงานเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย และการลดต้นทุนของสถานประกอบการได้ส่วนหนึ่ง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในการบำรุงรักษาที่มีประสิทธิภาพนั้น นอกจากจะป้องกันความเสียหายที่เกิดจากเครื่องจักรอุปกรณ์แล้ว ฝ่ายซ่อมบำรุงจะต้องควบคุมค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาอีกด้วย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความสามารถอย่างหนึ่งของการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษา นับว่เป็นการควบคุมต้นทุนการผลิตอย่างหนึ่ง ที่มีทั้งค่าแรงงาน ค่าวัสดุอะไหล่ และค่าโสหุ้ยต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในขณะดำเนินกิจกรรม การบำรุงรักษาเช่นเดียวกับการผลิต แต่ที่ผ่านมาผู้บริหารระดับสูงหลายแห่งมักจะไม่ค่อยทราบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นดังกล่าว โดยมุ่งเน้นที่ความพยายามที่จะกดดันทุนที่ฝ่ายผลิตเป็นส่วนใหญ่ (มีต่อ)

ยังมีผู้ประกอบการที่กล้าจะลงทุนซื้อเครื่องจักรราคาหลายสิบล้าน เมื่อมองเห็นโอกาสการแข่งขันในตลาด แต่ขาดช่างที่มีความรู้ความเข้าใจที่ดูแลรักษาเครื่องจักรให้มีประสิทธิภาพที่ดีพอ ผลลัพธ์คือ เครื่องจักรเสียหายหรือเสื่อมสภาพเร็วกว่ากำหนด ซึ่งมีผลตอค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นถึงเวลาแล้วที่ผู้ประกอบการจะต้องให้ะความสนใจต่อค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงอย่างจริงจังโดยเริ่มจากการจัดเก็บระบบข้อมูลพื้นฐานของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่มีกิจกรรมการบำรุงรักษาเครื่องจักรภายในโรงงานเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย และการลดต้นทุนของสถานประกอบการได้ส่วนหนึ่ง