ประสิทธิภาพของสาหร่ายสีเขียว Chloerlla spp. ในการลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจากฟาร์มสุกร / ภรณี หวังธำรงวงศ์, กฤษณ์ เฑียรฆประเสริฐ, สุรวดี นาคชน

By: ภรณี หวังธำรงวงศ์Contributor(s): กฤษณ์ เฑียรฆประสิทธิ์ | สุรวดี นาคธนCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | น้ำเสีย -- การบำบัด | สาหร่ายสีเขียว -- วิจัย In: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2543) หน้า 1-5Summary: การวิจัยครั้งนี้ เป็นการทดลองในห้องปฎิบัติการแบบ Batch Process เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายสีเขียว Chlore lla spp. ในการลดปริมาณสารอาหารไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจากฟาร์มสุกร เมื่อมีระยะเวลากักเก็บน้ำเสียนานประมาณ 4 และ 8 วัน การเจื่อจางน้ำเสีย 5 เท่า และ 10 เท่าSummary: โดยการศึกษาปริมาณของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียทุกๆ 2 วัน เป็นระยะเวลานาน 10 วัน ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของสาหร่ายในการลดปริมาณไนโตรเจน และฟอสฟอรัสในน้ำเสียมีความแตกต่างกันเมื่อน้ำเสียมีระดับความเข้มข้นต่างกัน คือน้ำเสียที่ถูกเจือจาง 5 เท่า สาหร่ายมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณ (มีต่อ)Summary: สารอาหารสูงกว่าในน้ำเสียที่ถูกเจือจาง 10 เท่า และปริมาณความหนาแน่นเริ่มต้นของสาหร่ายที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่แตกต่างกันด้วย การใช้น้ำเสียจากฟาร์มสุกรมาเพาะเลี้ยงสาหร่าย จำพวกที่มีโปรตีนสูงนอกจากสาหร่ายจะช่วยลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสแล้ว ยังทำให้น้ำทิ้งหลังการบำบัดมีค่า (มีต่อ)Summary: COD ลดลง ผลผลิตของสาหร่ายสามารถนำกลับมาใช้เป็นอาหารเสริมโปรตีนให้กับสุกร เพื่อให้ปริมาณเนื้อแดงเพิ่มขึ้น ขายได้ราคาดี บ่อบำบัดน้ำเสียที่อุดมด้วยสาหร่ายสีเขียวชนิด Cholorella spp. สามารถใช้ในการเพาะเลี้ยงไรแดงเพื่อจำหน่ายเป็นอาหารปลาได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการทดลองในห้องปฎิบัติการแบบ Batch Process เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายสีเขียว Chlore lla spp. ในการลดปริมาณสารอาหารไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจากฟาร์มสุกร เมื่อมีระยะเวลากักเก็บน้ำเสียนานประมาณ 4 และ 8 วัน การเจื่อจางน้ำเสีย 5 เท่า และ 10 เท่า

โดยการศึกษาปริมาณของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียทุกๆ 2 วัน เป็นระยะเวลานาน 10 วัน ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของสาหร่ายในการลดปริมาณไนโตรเจน และฟอสฟอรัสในน้ำเสียมีความแตกต่างกันเมื่อน้ำเสียมีระดับความเข้มข้นต่างกัน คือน้ำเสียที่ถูกเจือจาง 5 เท่า สาหร่ายมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณ (มีต่อ)

สารอาหารสูงกว่าในน้ำเสียที่ถูกเจือจาง 10 เท่า และปริมาณความหนาแน่นเริ่มต้นของสาหร่ายที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่แตกต่างกันด้วย การใช้น้ำเสียจากฟาร์มสุกรมาเพาะเลี้ยงสาหร่าย จำพวกที่มีโปรตีนสูงนอกจากสาหร่ายจะช่วยลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสแล้ว ยังทำให้น้ำทิ้งหลังการบำบัดมีค่า (มีต่อ)

COD ลดลง ผลผลิตของสาหร่ายสามารถนำกลับมาใช้เป็นอาหารเสริมโปรตีนให้กับสุกร เพื่อให้ปริมาณเนื้อแดงเพิ่มขึ้น ขายได้ราคาดี บ่อบำบัดน้ำเสียที่อุดมด้วยสาหร่ายสีเขียวชนิด Cholorella spp. สามารถใช้ในการเพาะเลี้ยงไรแดงเพื่อจำหน่ายเป็นอาหารปลาได้