ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคิดเชิงบริหารของเด็กก่อนวัยเรียน / ดวงฤทัย เสมคุ้มหอม

By: ดวงฤทัย เสมคุ้มหอมContributor(s): อาภาวรรณ หนูคง | สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ | นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พัฒนาการ -- เด็กก่อนวัยเรียนGenre/Form: การคิดเชิงบริหาร Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 34 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2562) หน้า 80-94Summary: การคิดเชิงบริหาร (Executive Functions: EF) เป็นการทำหน้าที่ระดับสูงของสมองที่ช่วยให้มนุษย์ควบคุมอารมณ์ ความคิด และการกระทำ จนเกิดพฤติกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมาย1 เด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่สำคัญในการวางรากฐานการเรียนรู้ในชีวิต เป็นช่วงเวลาที่เด็กมีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสมองส่วนหน้าซึ่งทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย วางแผนจัดลำดับการทำงาน คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมเป็นช่วงวัยที่มีอัตราการพัฒนาการคิดเชิงบริหารสูงที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การคิดเชิงบริหาร (Executive Functions: EF) เป็นการทำหน้าที่ระดับสูงของสมองที่ช่วยให้มนุษย์ควบคุมอารมณ์ ความคิด และการกระทำ จนเกิดพฤติกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมาย1 เด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่สำคัญในการวางรากฐานการเรียนรู้ในชีวิต เป็นช่วงเวลาที่เด็กมีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสมองส่วนหน้าซึ่งทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย วางแผนจัดลำดับการทำงาน คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมเป็นช่วงวัยที่มีอัตราการพัฒนาการคิดเชิงบริหารสูงที่สุด