โรคขี้เรื้อนของสุนัข / วัฒนา จารณศรี

By: วัฒนา จารณศรีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สุนัข -- โรค | โรคขี้เรื้อน -- สุนัข | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 1(มกราคม -มีนาคม 2542) หน้า 64 - 66Summary: ขี้เรื้อน เป็นโรคผิวหนัง แบบเรื้อรัง ซึ่งเกิดจาก "ไรขี้เรื้อน" ที่มีขนาดเล็กมาก ไรดังกล่าว อาจจะอาศัย อยู่บน และ ในผิวหนังของสุนัข ขี้เรื้อนชนิดที่พบว่า มีการแพร่ระบาด อยู่ทั่วไปบนสุนัข ในประเทศไทย แบ่งออกได้ 3ประเภท คือ 1.ขี้เรื้อน ชนิด sarcoptic 2.ขี้เรื้อนชนิด demodectic หรือ follicular mange/red mange/demodicosis (มีต่อ)Summary: 3. ขี้เรื้อนที่เกิดจากไรชนิด cheyletiellฟ parasitovorax [Megnin] การป้องกัน โรคขี้เรื้อน ในสุนัข ขี้เรื้อน ส่วนใหญ่ จะติดต่อ โดยการสัมผัสโดยตรง กับสัตว์ป่วย ดังนั้นควรระวังสุนัขปกติ ไม่ให้สัมผัส กับสุนัขที่ป่วย เป็นโรคเรื้อน หรือเลี้ยงรวมกับ สุนัขที่ป่วยเป็นโรคนี้ ควรแยกสุนัขที่ป่วย ออกจากสุนัขปกติ และทำการรักษาให้หาย (มีต่อ)Summary: การป้องกัน ไม่ให้สุนัข ป่วยเป็นขี้เรื้อน นอกจาก จะใช้หลักการสุขาภิบาล ที่ดีแล้ว ควรเลี้ยงสุนัข ด้วยอาหารที่ดี มีคุณภาพ และให้วิตามินเสริม เพื่อบำรุงผิวหนัง การอาบน้ำสุนัข ควรทำสัปดาห์ละครั้ง การอาบน้ำมากเกินไป ตลอดจน การใช้สบู่ แชมพู ไม่ถูกต้อง อาจทำให้สุนัข เป็นโรคเรื้อนได้ (มีต่อ)Summary: การรักษา เมื่อพบว่าสุนัขเป็นโรคเรื้อน ให้รีบพาไปพบสัตวแพทย์ เพื่อจะได้ ตรวจสอบวินิฉัย ชนิดของโรคเรื้อน และให้การบำบัดรักษา ให้ถูกต้อง เมื่อได้รับ การบำบัดรักษา ตามคำแนะนำ ของสัตวแพทย์ จนหายขาดแล้ว ต้องดูแล ป้องกันไม่ให้ สุนัขติด ไรขี้เรื้อนอีก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ขี้เรื้อน เป็นโรคผิวหนัง แบบเรื้อรัง ซึ่งเกิดจาก "ไรขี้เรื้อน" ที่มีขนาดเล็กมาก ไรดังกล่าว อาจจะอาศัย อยู่บน และ ในผิวหนังของสุนัข ขี้เรื้อนชนิดที่พบว่า มีการแพร่ระบาด อยู่ทั่วไปบนสุนัข ในประเทศไทย แบ่งออกได้ 3ประเภท คือ 1.ขี้เรื้อน ชนิด sarcoptic 2.ขี้เรื้อนชนิด demodectic หรือ follicular mange/red mange/demodicosis (มีต่อ)

3. ขี้เรื้อนที่เกิดจากไรชนิด cheyletiellฟ parasitovorax [Megnin] การป้องกัน โรคขี้เรื้อน ในสุนัข ขี้เรื้อน ส่วนใหญ่ จะติดต่อ โดยการสัมผัสโดยตรง กับสัตว์ป่วย ดังนั้นควรระวังสุนัขปกติ ไม่ให้สัมผัส กับสุนัขที่ป่วย เป็นโรคเรื้อน หรือเลี้ยงรวมกับ สุนัขที่ป่วยเป็นโรคนี้ ควรแยกสุนัขที่ป่วย ออกจากสุนัขปกติ และทำการรักษาให้หาย (มีต่อ)

การป้องกัน ไม่ให้สุนัข ป่วยเป็นขี้เรื้อน นอกจาก จะใช้หลักการสุขาภิบาล ที่ดีแล้ว ควรเลี้ยงสุนัข ด้วยอาหารที่ดี มีคุณภาพ และให้วิตามินเสริม เพื่อบำรุงผิวหนัง การอาบน้ำสุนัข ควรทำสัปดาห์ละครั้ง การอาบน้ำมากเกินไป ตลอดจน การใช้สบู่ แชมพู ไม่ถูกต้อง อาจทำให้สุนัข เป็นโรคเรื้อนได้ (มีต่อ)

การรักษา เมื่อพบว่าสุนัขเป็นโรคเรื้อน ให้รีบพาไปพบสัตวแพทย์ เพื่อจะได้ ตรวจสอบวินิฉัย ชนิดของโรคเรื้อน และให้การบำบัดรักษา ให้ถูกต้อง เมื่อได้รับ การบำบัดรักษา ตามคำแนะนำ ของสัตวแพทย์ จนหายขาดแล้ว ต้องดูแล ป้องกันไม่ให้ สุนัขติด ไรขี้เรื้อนอีก