สารฆ่าแมลงที่ถูกห้ามใช้ในอนาคต / เกรียงไกร จำเริญมา

By: เกรียงไกร จำเริญมาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ยาฆ่าแมลง | ยากำจัดศัตรูพืช In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2542) หน้า 190 - 193Summary: ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม อยู่ในเขตที่มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสม จึงสามารถปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีและต่อเนื่องโดยเฉพาะในแหล่งที่มีการใช้น้ำชลประทาน แต่สภาพดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาด้านศัตรูพืช และส่วนใหญ่ก็เป็นการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งทำให้เกิดปัญหาคือ ได้รับอันตรายโดยตรงจากการใช้อย่างไม่ถูกต้อง ปัญหาพิษตกค้างในผลผลิต อาหารและสภาพแวดล้อม ปัญหาการสร้างความต้านทานและการระบาดซ้ำของศัตรูพืช ลดความหลากหลายทางชีวภาพ (มีต่อ)Summary: เนื่องจากไปทำลายสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย ในปีพ.ศ. 2536 พบว่าผู้ป่วยที่รับพิษจากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช 77.82% เป็นผู้ป่วยที่มีอาชีพเกษตรกรรม และสารเคมีในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต เป็นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ทำให้เกษตรกรได้รับพิษภัยสูงสุด 50.50% ปัจจุบันได้มีการรณรงค์เพื่อลดการใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเฉพาะสารที่มีพิษร้ายแรง ซึ่งมีการจัดระดับความเป็นพิษนี้ใช้ในการเกษตร คือ 1.อะธินฟอส-เอธิล เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (มีต่อ)Summary: จัดเป็นวัตถุมีพิษในชั้น Ib หรือมีพิษร้ายแรง 2.เมวินฟอส เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ในชั้น la หรือมีพิษร้ายแรงยิ่ง มีค่า LD50 3.โมโนโครโทฟอส เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ในชั้น lb หรือมีพิษร้ายแรง ค่า LD50 4.ฟอสฟามิคอน เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต จัดเป็นวัตถุมีพิษในชั้น la หรือมีพิษร้ายแรงยิ่ง ค่า LD50
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม อยู่ในเขตที่มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสม จึงสามารถปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีและต่อเนื่องโดยเฉพาะในแหล่งที่มีการใช้น้ำชลประทาน แต่สภาพดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาด้านศัตรูพืช และส่วนใหญ่ก็เป็นการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ซึ่งทำให้เกิดปัญหาคือ ได้รับอันตรายโดยตรงจากการใช้อย่างไม่ถูกต้อง ปัญหาพิษตกค้างในผลผลิต อาหารและสภาพแวดล้อม ปัญหาการสร้างความต้านทานและการระบาดซ้ำของศัตรูพืช ลดความหลากหลายทางชีวภาพ (มีต่อ)

เนื่องจากไปทำลายสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย ในปีพ.ศ. 2536 พบว่าผู้ป่วยที่รับพิษจากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช 77.82% เป็นผู้ป่วยที่มีอาชีพเกษตรกรรม และสารเคมีในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต เป็นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ทำให้เกษตรกรได้รับพิษภัยสูงสุด 50.50% ปัจจุบันได้มีการรณรงค์เพื่อลดการใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเฉพาะสารที่มีพิษร้ายแรง ซึ่งมีการจัดระดับความเป็นพิษนี้ใช้ในการเกษตร คือ 1.อะธินฟอส-เอธิล เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (มีต่อ)

จัดเป็นวัตถุมีพิษในชั้น Ib หรือมีพิษร้ายแรง 2.เมวินฟอส เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ในชั้น la หรือมีพิษร้ายแรงยิ่ง มีค่า LD50 3.โมโนโครโทฟอส เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ในชั้น lb หรือมีพิษร้ายแรง ค่า LD50 4.ฟอสฟามิคอน เป็นสารฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต จัดเป็นวัตถุมีพิษในชั้น la หรือมีพิษร้ายแรงยิ่ง ค่า LD50