ประสิทธิภาพการกรองฝุ่นไม้ด้วยชั้นกรองชนิดตัวกลางฝุ่นไม้ สำเริง สาลีวัฒนพงศ์กุล, ประมุข โอศิริ, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์, ดุสิต สุจิรารัตน์ และนพกร จงวิศาล

By: สำเริง สาลีวัฒนพงศ์กุลContributor(s): ประมุข โอศิริ | เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ | ดุสิต สุจิรารัตน์ | นพกร จงวิศาลCall Number: Teat INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ฝุ่น | อุตสาหกรรมไม้ | ประสิทธิภาพ In: การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม) หน้า 93 - 105Summary: 1.ประสิทธิภาพการจัดเก็บลดลงในตรงกันข้ามกับปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าระบบการกรอง ประสิทธิภาพการกรองลดลงอย่างเห็นได้ชัดที่น้ำหนักฝุ่น 5 กิโลกรัม อาจเป็นผลจากฝุ่นไม้ขนาดเล็กทะลุผ่านชั้นฝุ่นที่อยู่บนผิวชั้นกรอง 2.ความสัมพันธ์ของความดันสถิตแตกต่างและน้ำหนักฝุ่นที่ปล่อยเข้าระบบการกรองความดันสถิตแตกต่างมีค่าสูงสุดที่ปริมณฝุ่นปล่อยเข้าระบบ 8 กิโลกรัม และลดลงที่ปริมาณฝุ่นปล่อยเข้าระบบที่ 9 กิโลกรัม ปรากฏการณ์นี้สนับสนุนผลที่ได้ประสิทธิภาพการกรองลดลง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

1.ประสิทธิภาพการจัดเก็บลดลงในตรงกันข้ามกับปริมาณฝุ่นที่ปล่อยเข้าระบบการกรอง ประสิทธิภาพการกรองลดลงอย่างเห็นได้ชัดที่น้ำหนักฝุ่น 5 กิโลกรัม อาจเป็นผลจากฝุ่นไม้ขนาดเล็กทะลุผ่านชั้นฝุ่นที่อยู่บนผิวชั้นกรอง 2.ความสัมพันธ์ของความดันสถิตแตกต่างและน้ำหนักฝุ่นที่ปล่อยเข้าระบบการกรองความดันสถิตแตกต่างมีค่าสูงสุดที่ปริมณฝุ่นปล่อยเข้าระบบ 8 กิโลกรัม และลดลงที่ปริมาณฝุ่นปล่อยเข้าระบบที่ 9 กิโลกรัม ปรากฏการณ์นี้สนับสนุนผลที่ได้ประสิทธิภาพการกรองลดลง