ความต้านทานของพันธุ์ข้าวต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล / จิรพงศ์ ใจรินทร์

By: จิรพงศ์ ใจรินทร์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ข้าว -- โรคและศัตรู | เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล -- การควบคุม In: แก่นเกษตร ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2542) หน้า 105-111Summary: การใช้พันธุ์ข้าวต้านทานเป็นวิธีที่ยอมรับและนิยมใช้กันอยู่ทั่วไป ปัจจุบันยังคงมีการพัฒนาพันธุ์ข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากเป็นวิธีที่ประหยัดไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และสามารถใช้ร่วมกับวิธีการอื่นได้สะดวก การศึกษาลักษณะความต้านทานและการประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวเป็นปัจจัยพื้นฐานและมีความสำคัญต่อการพัฒนาพันธุ์ข้าว โดยเฉพาะเพื่อหาแหล่งพันธุกรรม หรือ gene (มีต่อ)Summary: ควบคุมลักษณะต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมาใช้ในการพัฒนาพันธุ์ข้าว ไม่ว่าจะเป็นวิธีดั้งเดิมหรือใช้เทคโนโลยีชีวภาพให้เหมาะสมแต่ละสภาพพื้นที่และความรุนแรงของปัญหา เช่นในพื้นที่มีการใช้สารฆ่าแมลงน้อยและการควบคุมโดยชีววิธีไม่ถูกรบกวนไม่จำเป็นต้องใช้พันธุ์ที่มีระดับความต้านทานสูง การใช้พันธุ์ต้านทานสูง การใช้พันธุ์ต้านทานระดับปานกลาง ก็เพียงพอต่อการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไม่ให้ระบาดทำความเสียหายแก่ผลผลิต
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การใช้พันธุ์ข้าวต้านทานเป็นวิธีที่ยอมรับและนิยมใช้กันอยู่ทั่วไป ปัจจุบันยังคงมีการพัฒนาพันธุ์ข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากเป็นวิธีที่ประหยัดไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และสามารถใช้ร่วมกับวิธีการอื่นได้สะดวก การศึกษาลักษณะความต้านทานและการประเมินความต้านทานของพันธุ์ข้าวเป็นปัจจัยพื้นฐานและมีความสำคัญต่อการพัฒนาพันธุ์ข้าว โดยเฉพาะเพื่อหาแหล่งพันธุกรรม หรือ gene (มีต่อ)

ควบคุมลักษณะต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมาใช้ในการพัฒนาพันธุ์ข้าว ไม่ว่าจะเป็นวิธีดั้งเดิมหรือใช้เทคโนโลยีชีวภาพให้เหมาะสมแต่ละสภาพพื้นที่และความรุนแรงของปัญหา เช่นในพื้นที่มีการใช้สารฆ่าแมลงน้อยและการควบคุมโดยชีววิธีไม่ถูกรบกวนไม่จำเป็นต้องใช้พันธุ์ที่มีระดับความต้านทานสูง การใช้พันธุ์ต้านทานสูง การใช้พันธุ์ต้านทานระดับปานกลาง ก็เพียงพอต่อการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไม่ให้ระบาดทำความเสียหายแก่ผลผลิต